Page 339 - kpiebook67015
P. 339

ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นจากโครงการ “พลับพลาไชย ไม่ทิ้งกัน” ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
           ในตำบลพลับพลาไชย สามารถบรรเทาความเดือนร้อน ลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความเป็น

           ธรรมที่เป็นรูปธรรม ดังนี้

                                               ประเด็นการเปลี่ยนแปลง
              ผลสัมฤทธิ์
                                 ก่อนดำเนินโครงการ              หลังดำเนินโครงการ

            ผลเชิงสถิติ   - ผู้ปกครองของเด็กนักเรียนยากไร้     - สามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนด้าน
            (ปริมาณ)       มีภาระค่าใช้จ่ายรถรับ-ส่ง จำนวน      การเดินทาง จำนวน 45 ครัวเรือน
                           45 ครัวเรือน                  - สามารถปรับสภาพที่อยู่อาศัย สุขาให้
                          - ผู้สูงอายุ คนพิการ มีสภาวะ     สะดวก แข็งแรง จำนวน 23 ครัวเรือน
                           ยากลำบากในการดำรงชีวิตประจำวัน  - ช่วยให้ประชาชนเข้าถึงบริการ
                           จำนวน 57 ครัวเรือน             ด้านสาธารณสุขจากภาครัฐ
                          - ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงบริการ  จากสถานการณ์โรคโควิด-19
                           ต่าง ๆ ของภาครัฐ เช่น การศึกษา   พ.ศ. 2565 จำนวน 203 ครัวเรือน
                           การรวมกลุ่มทำกิจกรรม และในการ - ช่วยให้ประชาชนมีอาชีพเสริม
                           เดินทางเพื่อเข้าถึงบริการสาธารณสุข  เพิ่มรายได้ จำนวน 34 ครัวเรือน
                           ของภาครัฐ (สถานการณ์โควิด-19)  - ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ด้าน
                          - ประชาชนมีรายได้น้อย โดยเฉพาะ     การลดรายจ่าย เพิ่มรายได้
                           ผู้ประสบปัญหาซ้ำซ้อนทางสังคม     ตามโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ
                           ที่ไม่สามารถฟื้นฟูได้          จำนวน 80 ครัวเรือน/ปี
                          - ประชาชนขาดความรู้ ความเข้าใจ     - ภาคเอกชนร่วมสนับสนุนสิ่งของ
                           ในการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ เช่น   จำเป็นสำหรับผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุ
                           การทำการเกษตร การประกอบอาชีพ คนพิการ (กลุ่มปั่นเพื่อสังคม)
                           ค้าขาย                         เพื่อเสริมกำลังใจและให้ความรู้ผ่าน
                          - ผู้ดูแล กลุ่มเปราะบางขาดความรู้   อาสาสมัครบริบาล
                           ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วย อีกทั้ง  พ.ศ. 2562 จำนวน 65 คน
                           ไม่มีอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยเพียงพอ   พ.ศ. 2563 จำนวน 31 คน
                          - ผู้พิการเป็นภาระของครอบครัว     พ.ศ. 2564 จำนวน 22 คน
                           ในการดำรงชีวิตประจำวันทำให้รายได้ พ.ศ. 2565 จำนวน 30 คน
                           ครอบครัวลดลง                  พ.ศ. 2566 จำนวน 30 คน
                                                         - ผู้พิการมีรายได้จากการจำหน่าย
                                                          เสื้อผ้าตาม ม.35 จำนวน 25 คน
                                                          ต่อปี มีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย
                                                          5,000-10,000 บาทต่อปี


        รางวัลพระปกเกล้า’ 66
   334   335   336   337   338   339   340   341   342   343