Page 210 - kpiebook66032
P. 210

1. การประเมินความเสี่ยง (Risk Identification)

                 2. การป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention & Mitigation)

                 3. การเตรียมความพร้อมรับมือก่อนเกิดสาธารณภัย (Preparedness)
     ท้องถิ่นในโลกยุควูก้า (VUCA WORLD)   ภาพที่ 5: วงจรการจัดการภัยพิบัติ
                 4. การเกิดสาธารณภัย (Disaster Impact)

                 5. การเผชิญเหตุฉุกเฉิน (Response)
                 6. การฟื้นฟูและช่วยเหลือผู้ประสบภัย (Recovery)
































     ส่วนที่   บันทึกเรื่องเด่น   ส่วนที่ 4 เมืองที่สร้างนวัตกรรมการแก้ปัญหา จากการพัฒนาเชิงกลยุทธ์








                 จากการนำระบบฮักแม่เหียะ (HUG MAEHIA) มาใช้เป็นเครื่องมือสำหรับการจัดการเมือง
           เชิงระบบในภาวะฉุกเฉินเพื่อรองรับผลกระทบของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
           โดยใช้เทคโนโลยีมาสร้างประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหา ตอบสนองต่อกระบวนการ และ

           บริการได้ โดยเกิดผลการดำเนินงาน และผลสำเร็จ ดังนี้

                 1. สามารถอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนในการแจ้งข้อมูล  และช่วยลดการสัมผัส

           ของเจ้าหน้าที่ด่านหน้าที่ต้องตรวจเอกสารเพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาด
           ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองแม่เหียะ




        20     สถาบันพระปกเกล้า
   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215