Page 281 - kpiebook65066
P. 281

209






                                     จากสภาพปญหาดังกลาว เทศบาลนครพิษณุโลกไดตระหนักถึงความจําเปนในการ
                       ฟนฟูการเรียนที่ถดถอยของนักเรียนในสังกัด จึงใหสถานศึกษาโดยครูปฐมวัย จํานวน 48 คน ประเมิน
                       พัฒนาการเรียนของนักเรียนปฐมวัยในวันเปดภาคเรียนที่ 1/2565 จํานวน 774 คน จากแบบ
                       สํารวจสภาพการจัดการเรียนการสอนออนไลนของสถานศึกษาสังกัดเทศบาลนครพิษณุโลกเพื่อลด

                       ความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา หลังสถานการณโควิด พบวานักเรียนปฐมวัย มีภาวะความรูถดถอย
                       ระดับมากถึงมากที่สุดคิดเปนรอยละ 73.4 โดยเฉพาะปญหาดานสังคม ไดแก ทักษะการทํางาน
                       รวมกับผูอื่น ชอบอยูคนเดียว ไมมีจิตสาธารณะ ขาดวินัย และขาดความรับผิดชอบ อารมณฉุนเฉียว
                       โมโหงาย นอกจากนี้ในสวนของนักเรียนประถมศึกษาปที่ 1-3 จํานวน 979 จากประเมิน

                       ความสามารถทางการอานของผูเรียน (RT) ป 2564 ระดับ ป.1 มีผลคะแนนเฉลี่ยอยูที่รอยละ
                       72.51 ลดลงจากป 2563 (รอยละ 84.56) ดังนั้นจึงมีความจําเปนเรงดวนที่จะตองจัดทําโครงการ
                       เพื่อฟนฟูเด็กนักเรียนใหกลับสูระบบการศึกษาโดยเร็วที่สุดคิดเปนรอยละ 66.3
                                     2) วิธีการแกไขปญหาที่ได วิธีการแกไขปญหา คือ การสะทอนปญหาจากภายใน

                       จากครูผูบริหารสถานศึกษา และผูปกครอง เพื่อการจัดทําโครงการแผนฟนฟูการเรียนที่ถดถอยของ
                       นักเรียนในสังกัดเทศบาลนครพิษณุโลก สาเหตุที่เลือกเพราะสถานศึกษาในสังกัด 7 แหง ดําเนิน/
                       โครงการ/กิจกรรม ฟนฟูนักเรียนที่ไดรับผลกระทบจากการเรียนการสอนชวงสถานการณโควิดอยาง

                       เรงดวน เพื่อใหเด็กปฐมวัย และนักเรียนมีการพัฒนาการศึกษาที่เหมาะสมตามวัย ลดความเหลื่อมล้ํา
                       สรางโอกาส และความเสมอภาคในการศึกษา ไดแก (1) โครงการบานรักภาษาวัดนอยโรงเรียน
                       อนุบาลเทศบาลนครพิษณุโลก โดยใชเครื่องมือ เทคนิคการเรียนรูแบบรวมมือ รูปแบบ STAD
                       (Student Team Achievement) และบัญชีคําพื้นฐานในการเรียนการสอนภาษาไทย ของสํานัก
                       วิชาการ และมาตรฐานการศึกษาของ สพฐ.จํานวน 198 คน (2) โครงการพัฒนาทักษะภาษาไทย

                       โรงเรียนเทศบาล 2 (วัดคูหาสวรรค) โดยใชเครื่องมือ จิตศึกษา กิจกรรมรักการอาน และสอนซอม
                       เสริม จํานวน 134 คน (3) โครงการคลินิกภาษาโรงเรียนเทศบาล 3 (วัดทามะปราง)  โดยใช
                       เครื่องมือชุดการสอนบันได 4 ขั้น และเปลี่ยนพอแมมาเปนครู จํานวน 32 คน (4) โครงการพัฒนา

                       ศักยภาพการ อานผูเรียนของโรงเรียนเทศบาล 4 (ชุมชนวัดธรรมจักร) โดยใชเครื่องมือ บัญชีคํา
                       พื้นฐานฯ และลดเวลาเรียนเพิ่มเวลาอาน จํานวน 129 คน (5) โครงการสงเสริมทักษะการอานและ
                       การเขียนของโรงเรียน เทศบาล 5 (วัดพันป) โดยใชเครื่องมือ คายการอาน และการเขียน 1 คาย 1
                       วัน จํานวน 130 คน (6) โครงการสงเสริมการปฏิสัมพันธทางสังคมของเด็กปฐมวัยโดยใชเครื่องมือ

                       กิจกรรมกลุม และบทบาทสมมุติของศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครพิษณุโลกจํานวน 101 คน และ
                       (7) โครงการโครงการสงเสริมการปฏิสัมพันธทางสังคมของเด็กปฐมวัยโดยใชเครื่องมือ จิตศึกษา
                       รูปแบบการจัดการเรียนรูโดยใชปญญาเปนฐาน และกิจกรรม PLC จํานวน 32 คน
                                     3) วัตถุประสงค และผลผลิตที่คาดวาจะไดรับจากโครงการ วัตถุประสงค ไดแก

                       (1) เพื่อสงเสริมการเรียนรูลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาในสถานศึกษา (2) เพื่อสรางโอกาส และ
                       ความเสมอภาคในการศึกษา และ (3) เพื่อใหนักเรียนที่ไดรับผลกระทบจากการเรียนการสอนออนไลน
                       ใหมีการพัฒนาการตามวัยที่เหมาะสม โดยผลผลิตที่คาดวาจะไดรับจากโครงการ คือ (1) สถานศึกษา
                       ในสังกัดเทศบาลนครพิษณุโลกสามารถจัดกิจกรรมฟนฟูการเรียนที่ถดถอยของนักเรียนไดสอดคลอง

                       เหมาะสมกับชวงวัย และคุณลักษณะที่พึงประสงคของเด็กปฐมวัย และนักเรียนในแตละดานใหมี
   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285   286