Page 280 - kpiebook65066
P. 280

208






                                     - อบรมเชิงปฏิบัติการสงเสริมจัดการเรียนการสอนแนวทาง(ทวิ/พหุภาษา) ที่เนน
                       ผูเรียนเปนสําคัญโดยใชภาษาแมเปนฐาน ไดแก ระดมความคิดเห็น “ปญหาและขอกังวลฯ” แนวคิด
                       การสอนแบบเชื่อมโยงโอนภาษามาใช สาธิตการสอนฟงและพูด และโครงการหลักสูตรทวิ/พหุภาษา
                                     - จัดการอภิปราย ระดมความคิดเห็นในประเด็นการศึกษาโครงสรางหลักสูตรทวิ/

                       พหุภาษา และหลักสูตรการจัดการเรียนรูภาษาไทยแบบเชื่อมโยงการวิเคราะหหลักสูตรทวิ/พหุภาษา
                       เชื่อมหนวยการเรียนรู จํานวน 40 หนวยการเรียนรู หลักการ จุดมุงหมาย และการนําไปประยุกตใช
                       โดยวิทยากรจากสํานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม เขต 3
                                     - แนวทางการดําเนินโครงการตอไป ไดแก (1) สงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา

                       หองเรียน พหุภาษา/ทวิภาษา ของศูนยพัฒนาเด็กเล็กสังกัด องคการบริหารสวนตําบลทาตอน พัฒนา
                       สื่อการเรียนการสอน การอบรมครู เพิ่มเทคนิคการสอนและหลักสูตรรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
                       การประเมินที่ถูกวิธี สรางทัศนคติ ความรูความเขาใจของผูปฏิบัติงาน (2) สรางทีมหนุนเสริม (ทีม
                       วิทยากรพหุภาษา/ทวิภาษา) ในการอบรมใหกับองคกรปกครองทองถิ่นอื่น (3) สรางภาคีเครือขาย

                       หองเรียน พหุภาษา/ทวิภาษาระดับปฐมวัยขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในระดับอําเภอ จังหวัด (4)
                       สรางกลไกการมีสวนรวมระหวางศูนยพัฒนาเด็กเล็กกับชุมชน ผูปกครอง และจิตอาสา และ (5) จัดทํา
                       ระบบสารสนเทศในการจัดเก็บ และนําเสนอขอมูลผลการประเมิน และพัฒนาการเด็ก


                              4.๔.๒ โครงการฟนฟูการเรียนถดถอยของนักเรียนในสังกัดเทศบาลนครพิษณุโลก
                                     1) ปญหา ที่มาของปญหา และผลกระทบจากปญหา ผลจากการปดโรงเรียนในป
                       การศึกษา 2564 ที่มีการปดโรงเรียน 2 รอบ เปนระยะเวลานานกวา 120 วัน จากทั้งหมด 200
                       วัน ทําใหนักเรียนตองใชรูปแบบการเรียนออนไลนเปนระยะเวลานาน สงผลใหเด็กจํานวนไมนอย

                       ไดรับผลกระทบทั้งดานสุขภาพ และพัฒนาการการเรียนรูที่ถดถอย โดยเฉพาะเด็กที่มีผูปกครองฐานะ
                       ยากจนมีสื่อ และอุปกรณไมพรอมในการเรียน
                                     จากการถอดบทเรียนเทศบาลสามารถสรุปผลกระทบจากสถานการณการแพร

                       ระบาดของโควิด-19 ผลกระทบจากสถานการณการแพรระบาดของโควิด-19 ที่มีตอปญหาจากการ
                       เรียนออนไลนในสถานศึกษาสังกัดเทศบาลนครพิษณุโลก ไดดังนี้ (1) เด็กสวนใหญยากจนขาดแคลน
                       อุปกรณในการเรียนรูไมสามารถเขาถึงการเรียนได (2) คาใชจายสัญญาณอินเตอรเน็ตเพิ่มขึ้นเปน
                       ภาระที่เพิ่มขึ้นมาของครอบครัวไมสามารถเขาถึงระบบอินเตอรเน็ตได และ (3) ครูผูสอนและนักเรียน

                       การขาดความรูความเขาใจในการใชเครื่องมือสําหรับการจัดการเรียนการสอน (4) นักเรียนชั้นเด็กเล็ก
                       ๆ ไมไดรับความรวมมือที่ดีจากผูปกครอง เนื่องจากผูปกครองตองทํางานหาเลี้ยงชีพ และครอบครัว
                       (5) นักเรียนไมใหความรวมมือในการเรียนออนไลน เพราะไมคุนเคยกับรูปแบบนี้ และเนื้อหาบางสวน
                       เขาใจยากทําใหครูผูสอนติดตามนักเรียนไดยากมากขึ้น (6) กิจกรรมการเรียนรู เนื้อหาวิชาของไม

                       สอดคลองกับการเรียนออนไลน และ (7) ขาดสื่อการเรียนการสอนที่ชวยเสริมประสิทธิภาพการสอน
                       ของครู
                                     ปญหาตางๆ ดังกลาวไดสงผลกระทบเชิงลบกับกลุมเด็กนักเรียนในสังกัดเทศบาล
                       นครพิษณุโลก โดยเฉพาะพัฒนาการดานตาง ๆ ทั้งดานวิชาการ ดานสังคม และพัฒนาดานรางกายที่

                       ตองหยุดชะงัก สงผลใหการเรียนเกิดการถดถอย
   275   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285