Page 441 - kpiebook65063
P. 441

ซึ่งจุดเริ่มต้นของโครงการไม่ได้มีเป้าหมายอยู่ที่การทำฝายแต่เป้าหมายหลักและเป้าหมายสำคัญ

           ที่ยังคงยึดถือถึงปัจจุบันนี้คือ การที่ต้องการอนุรักษ์พื้นที่ป่าให้มีความอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่ง
           ต้นน้ำที่สามารถหล่อเลี้ยงเกษตรในพื้นที่ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ คนสามารถอยู่ร่วมกัน
     ท้องถิ่นกับภารกิจที่ท้าทายหลังวิกฤตโควิด-19   ก็เพราะว่าฝายทำให้คนในพื้นที่สามารถที่จะดำรงชีวิตอยู่ได้ และคนทุกคนมีส่วนร่วม
           ธรรมชาติได้



                       “...จริง ๆ แล้ว ฝายก็คือกิจกรรมอย่างหนึ่งที่ทำให้เรามีน้ำใช้ ที่เป็นฝายมีชีวิต


                 ในการดูแลฝายอย่างต่อเนื่อง...”

                                                                       ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7




                 เส้นทางของการดำเนินโครงการดังกล่าวสามารถแบ่งได้ 3 ช่วงระยะเวลาคือ ระยะที่หนึ่ง
           ใน ปี พ.ศ. 2560-2561 ระยะที่สอง ใน ปี พ.ศ. 2562 และระยะที่สาม ปี พ.ศ. 2563-2564
           ดังแสดงในแผนภาพดังนี้


           แผนภาพแสดงเส้นทางนวัตกรรมโครงการการอนุรักษ์ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
           โดยการสร้างฝายมีชีวิต
     ส่วนที่   บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า: ท้องถิ่นกับบริการสาธารณะ








































          0    สถาบันพระปกเกล้า
   436   437   438   439   440   441   442   443   444   445   446