Page 65 - kpiebook65062
P. 65

เชิงอรรถบทที่ ๑



                   ๑  พอพันธ์ อุยยานนท์, เศรษฐกิจไทยสมัยรัชกาลที่ ๗ รักษาเสถียรภาพ ปูพื้นฐานการพัฒนา (กรุงเทพฯ :
                            โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, ๒๕๕๘), ๓.

                   ๒  “พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งสภาการคลัง,” ราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๕
                            เล่ม ๓๙, ๙๖.

                   ๓  “ปฐมการแห่งสยามรัฐพิพิธภัณฑ์,” ที่ระลึกสยามรัฐพิพิธภัณฑ์ สวนลุมพินี พระพุทธศักราช ๒๔๖๘,
                            ม.ป.ป.

                   ๔  พอพันธ์ อุยยานนท์, เศรษฐกิจไทยสมัยรัชกาลที่ ๗ รักษาเสถียรภาพ ปูพื้นฐานการพัฒนา, ๔๗-๔๘.

                   ๕  สมชาติ จึงสิริอารักษ์, สถาปัตยกรรมแบบตะวันตกในสยาม สมัยรัชกาลที่ ๔ - พ.ศ. ๒๔๘๐, (กรุงเทพฯ :
                            คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๓), ๔๗๙.

                   ๖  วิมลสิทธิ์ หรยางกูร และคณะ, พัฒนาการแนวความคิดและรูปแบบของงานสถาปัตยกรรม อดีต
                            ปัจจจุบัน และอนาคต, (กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์, ๒๕๓๖), ๒๕.

                   ๗  พอพันธ์ อุยยานนท์, เศรษฐกิจไทยสมัยรัชกาลที่ ๗ รักษาเสถียรภาพ ปูพื้นฐานการพัฒนา, (๒๗).

                   ๘  หอจดหมายเหตุแห่งชาติ, P.O/16 Siam Annual Report 1931.

                   ๙  นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, การปฏิวัติสยาม พ.ศ. ๒๔๗๕ (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และ
                            มนุษยศาสตร์ , ๒๕๓๕), ๑๔.
                   ๑๐  ดู Scot Barme, Woman, Man, Bangkok : Love, Sex, and Popular Culture in Thailand,

                            (Lanham : Rowman & Littlefield, 2002).

                   ๑๑  หอจดหมายเหตุแห่งชาติ, ร.๗ ม.๔.๔/๓ บัญชีสำมโนพลเมืองทั่วพระราชอาณาจักร.
                   ๑๒  การที่ประชากรเพิ่มขึ้นถึง ๒,๒๙๘,๘๕๒ คนในรอบทศวรรษเดียวนั้น สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้าฯ

                            กรมพระนครสวรรค์วรพินิต เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย มีหนังสือกราบบังคมทูลชี้แจงรัชกาลที่ ๗
                            ลงวันที่ ๖ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๒ ว่าสาเหตุที่ประชากรเพิ่มนั้นมีสองประการ คือ (๑) คนเกิด
                            มากกว่าคนตาย และ (๒) มีคนเข้ามาในพระราชอาณาจักรมากกว่าคนออก โดยที่ในรอบทศวรรษ
                            ๒๔๖๒ – ๒๔๗๒ นั้น มีคนอพยพเข้ามากกว่าคนออก ๓๘๘,๔๓๗ คน จึงมีคนเกิดมากกว่าคนตาย

                            ๑,๙๑๐,๔๑๕ คน นับเป็นอัตราเพิ่มพลเมือง ๒๐.๖๖ คนต่อพันคน  ดู หอจดหมายเหตุแห่งชาติ,
                            ร.๗ ม.๔.๔/๓ บัญชีสำมโนพลเมืองทั่วพระราชอาณาจักร.

                   ๑๓  “ประกาศ ตั้งกรมสาธารณสุขและตั้งอธิบดีกรมสาธารณสุข,” ราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๘ ธันวาคม
                            พ.ศ. ๒๔๖๑ เล่ม ๓๕, ๓๐๒ – ๓๐๓.





                     สถาปัตย์ใต้ร่มฉัตรพระปกเกล้าฯ
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70