Page 22 - kpiebook65030
P. 22

21


              ที่สามคือ กำาหนดโครงสร้างข้อถกเถียงจนมาถึงข้อสรุปที่เป็นฉันทามติร่วมกัน
              และในขั้นตอนที่สี่จึงเป็นการสื่อสารผลลัพธ์ที่ได้จากการร่างตัวโครงร่างที่ผ่าน

              การมีส่วนร่วมสาธารณะของประชาชนกลุ่มตัวอย่าง




              ค�ำถำมที่น่ำสนใจท้ำยเวทีสำธำรณะ


                       เมื่อเข้าสู่ช่วงสุดท้ายก่อนสิ้นสุดงานสัมมนาครั้งนี้ งานสัมมนา
              สาธารณะได้มีการเปิดให้มีถามคำาถามจากผู้เข้าร่วมรับฟังสัมมนา โดย

              ศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า ที่ได้ตั้งคำาถาม
              เรื่องแนวทางการออกแบบรัฐธรรมนูญภายใต้ความคิดเห็นต่างของสังคมไทย
              ที่มีต่อความจำาเป็นของโครงสร้างทางการเมืองในไทย อาทิ ระบบเลือกตั้ง

              พรรคการเมือง หรือสภาเดี่ยวหรือสภาคู่ เป็นต้น กรณีดังกล่าวจะสามารถออกแบบ
              ได้อย่างไร รวมถึงการนำา deliberative democracy มาใช้จะมีแนวโน้มสำาเร็จ

              มากเพียงใด โดยวิทยากรได้ให้คำาตอบว่าควรเริ่มต้นจากการให้ความรู้อันครบถ้วน
              แก่ประชาชนให้เข้าใจประเด็นที่ประชาชนสงสัย เพื่อให้เกิดการนำาไปเปรียบเทียบ
              และพิจารณาข้อดีข้อเสียภายใต้บริบทวัฒนธรรมทางการเมืองของประชาชน

              ในประเทศนั้นๆ เอง ทั้งนี้กระบวนการ deliberative democracy เป็นกระบวนการ
              สำาหรับการออกแบบนโยบาย แต่การจะนำามาใช้กับกระบวนการรับฟังความคิดเห็น

              ออกแบบรัฐธรรมนูญก็อาจเป็นไปได้ด้วยดีก็ได้ ทว่าอย่างไรก็ตาม ยังต้องระมัดระวัง
              เรื่องบทบาทของชนชั้นนำาในการเข้ามาแทรกแซงชี้นำาทางการเมืองในการให้ข้อมูล
              หรือแม้แต่การแทรกแซงผลลัพธ์ของกระบวนการ


                       นอกจากนั้นยังมีคำาถามของปุรวิชญ์ วัฒนสุข นักวิชาการสถาบัน
              พระปกเกล้า โดยกล่าวถึงบทเรียนจากความสำาเร็จของกระบวนการร่างรัฐธรรมนูญ

              ของชิลี ซึ่งวิทยากรก็เห็นด้วยกับความสำาเร็จที่เกิดจากผู้ออกแบบกระบวนการ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27