Page 20 - kpiebook65030
P. 20

19


                       6. ความมีเสถียรภาพของระบอบการเมือง ซึ่งทำาได้ด้วยการขยาย
              แนวทางการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพลเมือง ทว่าในทางกลับกัน หากชนชั้นนำา

              ไม่ยอมที่จะทำาความเข้าใจความคิดเห็นของพลเมืองที่เข้ามามีส่วนร่วมแล้ว
              ย่อมส่งผลให้การมีส่วนร่วมของพลเมืองยังคงตกอยู่ภายใต้การชี้นำาของชนชั้นนำา

              เช่นเดิม

                       ปัญหาของความขาดแคลน 5 ประการของผู้ร่างรัฐธรรมนูญ
              ซึ่งผู้ร่างรัฐธรรมนูญนั้นส่วนใหญ่มักประสบปัญหาหลากประการในกระบวนการ

              ออกแบบดังที่ได้นำาเสนอไว้แล้วในข้างต้น ด้วยเหตุนี้เองผู้ร่างรัฐธรรมนูญต้อง
              ตระหนักว่า ไม่มีคำาตอบอันแสนอัศจรรย์ใดจะสามารถไขปัญหาการออกแบบ

              การแก้ไขรัฐธรรมนูญได้อย่างเป็นสากล รวมไปถึงในกระบวนการออกแบบ
              รัฐธรรมนูญไม่ว่าจะในฐานะของผู้ร่างรัฐธรรมนูญหรือภาคประชาชน ต่างจำาเป็น
              ต้องตระหนักถึงปัญหาความขาดแคลนในอย่างน้อยห้าข้อ ได้แก่


                       1. ความจ�ากัดของความรู้ของสาธารณชน อาทิ ความสำาคัญของ
              การมีรัฐธรรมนูญ กระบวนการเชิงเทคนิคเฉพาะในการร่างรัฐธรรมนูญ เป็นต้น

              ซึ่งนำามาสู่คำาถามที่ว่าประชาชนควรทราบอะไรบ้าง เพื่อให้การมีส่วนร่วมเป็นไป
              อย่างมีประสิทธิภาพ


                       2. ข้อจ�ากัดด้านพื้นที่ เนื่องจากไม่ใช่ทุกคนที่จะสะดวกในการเดินทาง
              มาร่วมกิจกรรมการมีส่วนร่วมสาธารณะ เช่นเดียวกับปัญหาการเข้าถึงอินเตอร์เน็ต
              เพื่อเข้าถึงการมีส่วนร่วมสาธารณะแบบออนไลน์ นอกจากนั้นรวมถึงความแตกต่าง

              ด้านภาษาที่ใช้ในการสื่อสารจากคนละท้องถิ่นหรือพื้นที่อันมีอัตลักษณ์เฉพาะ
              ทางภาษา นอกจากนั้นยังความเฉพาะของปัญหาทางสังคม เนื่องจากว่า

              บางประเด็นทางสังคมถือว่ามีความละเอียดอ่อนสูงเกินไปที่จะนำามากล่าวถึงกัน
              ในพื้นที่สาธารณะ และยังมีปัญหาของอัตลักษณ์ที่ถูกกดทับไม่ให้สามารถแสดง
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25