Page 60 - kpiebook65024
P. 60
59
ชาวไทยจะต้องเป็นพุทธศาสนิกชนด้วย (นัยในเรื่องนี้ยังสื่อความทางอ้อมอีกด้วยว่า
ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจ�าชาติ โดยไม่ต้องบัญญัติเรื่องละเอียดอ่อนเช่นนี้ลงใน
รัฐธรรมนูญโดยตรง) แต่ขณะเดียวกันพระมหากษัตริย์ก็จะต้องให้การอุปถัมภ์ส่งเสริม
ทุกศาสนาที่ประชาชนชาวไทยนับถือด้วย (ธงทอง จันทรางศุ, 2552)
3) พระมห�กษัตริย์ทรงดำ�รงตำ�แหน่งจอมทัพไทย ซึ่งปัจจุบันเป็นต�าแหน่ง
สูงสุดเพียงต�าแหน่งเดียวของกองทัพ แม้ในอดีตข้าราชการทหารระดับสูงของกองทัพ
ไทยจะมีการใช้ยศจอมพล แต่ได้ก็สิ้นสุดไปพร้อมกับการถึงแก่อสัญกรรมของจอมพล
ถนอม กิตติขจร และบรรดานายทหารระดับสูงของประเทศไทยก็มีจารีตประเพณี
ที่จะไม่รับยศจอมพล ด้วยเหตุว่ากองทัพไทยมีพระมหากษัตริย์เป็นจอมทัพอยู่แล้ว
ดังนั้น นายทหารอื่นทั้งหมดซึ่งเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาจึงควรมียศต�่ากว่า (สปาย
หมายเลขหก, 2549)
4) พระมห�กษัตริย์ทรงมีพระร�ชอำ�น�จในก�รสถ�ปน�ฐ�นันดรศักดิ์
แห่งร�ชวงศ์ รวมถึงพระราชทานสมณศักดิ์แด่พระสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ และพระราชทาน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่ผู้ท�าคุณประโยชน์แก่ชาติบ้านเมืองและยังเป็นขวัญก�าลังใจ
ในการเสียสละเพื่อส่วนรวมต่อไป
5) พระมห�กษัตริย์ทรงมีพระร�ชอำ�น�จในก�รแต่งตั้งองคมนตรีและ
ให้องคมนตรีพ้นจ�กตำ�แหน่ง โดยองคมนตรี คือ คณะบุคคลที่มีหน้าที่ถวายความเห็น
ต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจที่ทรงปรึกษา รวมถึงหน้าที่อื่น ๆ ตามรัฐธรรมนูญ
(มานิต จุมปา, 2553) ซึ่งบรรดารายละเอียดเกี่ยวกับองค์ประกอบ อ�านาจหน้าที่ของ
คณะองคมนตรี การแต่งตั้ง ลักษณะต้องห้าม การถวายสัตย์ปฏิญาณ การพ้นจาก
ต�าแหน่ง ก็ถูกบัญญัติไว้เป็นความในหมวดพระมหากษัตริย์ด้วยเช่นกัน