Page 68 - kpiebook65021
P. 68

โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน:  กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี





                               3.2) ทรัพยากรชายฝั่งทะเลและป่าชายเลนที่สวยงาม สัตว์น้ าอุดมสมบูรณ์และหลากหลาย
                 เป็นแหล่งอาหารและสร้างรายได้ที่ดีของอาชีพประมง  และค่อย ๆ มีการรุกล้ าพื้นที่ชายหาด ชายฝั่งเริ่มมีการ

                 กัดเซาะพื้นที่มาเรื่อย ๆ ท าให้สัตว์น้ าหายากส่งผลต่ออาชีพประมง

                               3.3) ทรัพยากรน้ า แม่น้ า ล าคลองสาธารณประโยชน์ ไม่ตื้นเขิน เป็นแหล่งน้ าธรรมชาติจาก
                 ทิวเขา และเพียงพอต่อการท าการเกษตร แต่พอมาระยะหลัง ๆ น้ าไม่เพียงพอท าให้การเกษตรขาดแคลนน้ า

                               3.4) ทรัพยากรธรณี มีการขุดเพื่อหาแร่ที่มีความส าคัญในพื้นที่ เช่น พลอย เงินและแร่ที่ส าคัญ


                               3.5) สภาพอากาศ ฝนตกตรงตามฤดูกาล แหล่งน้ าอุดมสมบูรณ์ ไม่มีมลพิษ

                        4) ความสัมพันธ์ของคนในพื้นที่ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลให้ความคิดเห็นประเด็นนี้ว่าในอดีต สังคมอยู่อาศัย
                 แบบพึ่งพา อย่างถ้อยทีถ้อยอาศัย ช่วยเหลือเกื้อกูล มีความเอื้ออาทร บ้านเรือนไม่ห่างไกล เป็นสังคมแบบเครือญาติ

                 มีความสัมพันธ์แบบพี่น้อง ท าให้มีการร่วมแรงร่วมใจในการท ากิจกรรมประเพณีในชุมชน มีความสามัคคี
                 สมานฉันท์

                        5) ภัยธรรมชาติ ภัยพิบัติ ภัยจากสัตว์ป่า ภัยอื่น ๆ ในอดีต กลุ่มผู้ให้ข้อมูลกล่าวถึงประเด็นนี้ดังต่อไปนี้

                               5.1) ภัยน้ าท่วม ในพื้นที่ลุ่ม จะประสบกับปัญหาน้ าท่วมเมื่อฝนตกหนัก น้ าระบายไม่ทัน และ

                 บางครั้งที่มีน้ าทะเลหนุน ทั้งนี้มีความเกี่ยวข้องกับการจัดการ เช่น ท่อระบายน้ าที่ไม่ได้ขนาด

                               5.2) ภัยแล้ง ในพื้นที่ที่ประสบกับปัญหาภัยแล้ง น้ าจะมีไม่เพียงพอต่อการใช้ในชีวิตประจ าวัน
                 บางปีแล้งหนัก ล าคลองแห้ง ท าให้การเกษตรเสียหาย


                               5.3) ช้างป่า ในพื้นที่ประสบปัญหาช้างป่า พบว่า มีช้างป่าท าลายผลผลิตทางการเกษตรของ
                 ชาวบ้าน ท าให้เกิดความเสียหายจากการบุกรุกของช้างป่า

                        6) เศรษฐกิจ ด้วยสภาพพื้นที่และอาชีพที่มีในอดีต กลุ่มผู้ให้ข้อมูลกล่าวถึงประเด็นเศรษฐกิจในอดีต

                 ดังต่อไปนี้

                               6.1) เศรษฐกิจดี มองว่าในอดีตมีเศรษฐกิจที่ดี มีรายได้พอยังชีพ และคล่องตัวกว่าปัจจุบัน
                 การค้าขายที่ส าคัญเป็นจุดการค้าทางน้ า และการค้าขายระหว่างชายแดนเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร


                               6.2) เศรษฐกิจไม่ดี มองว่าในอดีตรายได้ครัวเรือนต่ า ชาวบ้านมีฐานะยากจน รายได้ไม่มั่นคง
                 ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย มีความเหลื่อมล้ าทางเศรษฐกิจ

                        7) การพัฒนาด้านความทันสมัยและเทคโนโลยี ด้วยสภาพพื้นที่กลุ่มผู้ให้ข้อมูลกล่าวถึงประเด็นในอดีต

                 ดังต่อไปนี้

                               7.1) ขาดการพัฒนา ในอดีตสภาพพื้นที่เป็นชนบท ทุรกันดาร ห่างไกลจากตัวเมือง ไม่มีการ
                 พัฒนา ความเจริญ ความทันสมัยและเทคโนโลยียังไม่เข้าถึงหมู่บ้าน เช่น ร้านค้า ปั๊มน้ ามัน ธนาคาร


                               7.2) ความล าบากในการสื่อสาร และการเข้าถึงข่าวสารที่มีประโยชน์ การรับรู้ข้อมูลไม่ทั่วถึง
                 ไม่ทันต่อเหตุการณ์ ท าให้ขาดโอกาสต่าง ๆ




                                                             43
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73