Page 84 - kpiebook65015
P. 84

83



                  (3) ไม่มีด่ำนขั้นต�่ำเหมือนรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และรัฐธรรมนูญ
           พ.ศ. 2560 : รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2564 ไม่ก�าหนดให้มีด่านขั้นต�่าใน

           การเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อเหมือนกับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 รัฐธรรมนูญแก้ไข
           เพิ่มเติม พ.ศ. 2554 และรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ที่ไม่มีด่านขั้นต�่า นั่นคือจะไม่มี

           พรรคใดถูกตัดออกไปจากการที่คะแนนไม่ถึงด่านขั้นต�่า โดยการจัดสรรที่นั่งจะจัดให้
           พรรคการเมืองตามจ�านวนเต็มที่ค�านวณได้ก่อน จากนั้นจึงจะจัดให้เศษที่ใหญ่ที่สุด

           ไปตามล�าดับจนครบจ�านวณ

                  กล่าวโดยสรุปคือ รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2564 ได้เปลี่ยนระบบเลือกตั้ง

           ส.ส.กลับไปหาระบบเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 คือ ระบบคู่ขนำน โดยมี

           จ�านวน ส.ส. จากระบบเสียงข้างมากธรรมดาเขตละคน (ส.ส.แบบแบ่งเขต) 400 คน
           ซึ่งคิดเป็น 80 เปอร์เซ็นต์ และจากระบบสัดส่วนบัญชีรายชื่อ (ส.ส.แบบบัญชีรายชื่อ)
           100 คน คิดเป็น 20 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 แต่ไม่มีด่านขั้นต�่า

           ในการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ ผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนี้คือ

                  ประกำรที่หนึ่ง ผู้มีสิทธิเลือกตั้งได้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส. บัญชีรายชื่อกลับคืนมา

           คือมีสองคะแนนที่คะแนนหนึ่งเลือก ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง และอีกคะแนนเลือก

           ส.ส. บัญชีรายชื่อ โดยเลือกทั้งสองแบบต่างพรรคกันได้ ในประเด็นนี้ถือว่าเป็นประโยชน์
           ต่อประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อผู้ใช้สิทธิเลือกตั้งที่ประสงค์จะเลือกผู้สมัครแบบ
           แบ่งเขตเลือกตั้งและแบบบัญชีรายชื่อเป็นคนละพรรคกัน (ดูประเด็น (5) ของหัวข้อ 3.1)


                  ประกำรที่สอง เนื่องจากการเลือกตั้ง ส.ส.แบบแบ่งเขตเลือกตั้งซึ่งเป็นระบบ

           เสียงข้างมากธรรมดาเขตละคน หรือ FPTP นั้น พรรคที่ชนะการเลือกตั้งในแบบ
           แบ่งเขตเลือกตั้งมากที่สุด หรือพรรคใหญ่ที่สุดจะเป็นเพียงพรรคเดียวที่ได้เปรียบ
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89