Page 60 - kpiebook65015
P. 60

59



                  ตาราง 8 : จ�านวนผู้สมัครแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ผู้สมัครแบบบัญชีรายชื่อ และ
           จ�านวนพรรคการเมือง เปรียบเทียบ 3 ครั้งล่าสุดกับการเลือกตั้ง 24 มีนาคม 2562


               กำรเลือกตั้ง          แบบแบ่งเขต             แบบบัญชีรำยชื่อ

                                 จ�ำนวน       จ�ำนวน      จ�ำนวน      จ�ำนวน
                                 ผู้สมัคร      พรรค       ผู้สมัคร     พรรค

            6 กุมภาพันธ์ 2548    1,707 คน    36 พรรค       582 คน    20 พรรค


             23 ธันวาคม 2550     3,894 คน    39 พรรค     1,260 คน    31 พรรค

             3 กรกฎาคม 2554      2,422 คน    40 พรรค     1,410 คน    34 พรรค


             24 มีนาคม 2562    11,181 คน    104 พรรค     2,917 คน    77 พรรค



                  (2) ผลกำรเลือกตั้งที่ไม่ตรงตำมเจตนำรมณ์ของประชำชนโดยลดขนำด

           พรรคใหญ่และเพิ่มขนำดพรรคขนำดกลำง เมื่อดูคะแนนการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
           และแบบสัดส่วนย้อนหลังไป เราจะพบว่าตั้งแต่ประเทศไทยใช้ระบบเลือกตั้งที่มี

           ส.ส. มาจากการเลือกตั้งสองแบบมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 (ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540)
           จนถึงการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2554 (ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติม

           พ.ศ. 2554) ในการเลือกตั้งทุกครั้งพรรคใหญ่ที่สุดสองพรรคจะได้คะแนนแบบแบ่งเขต
           น้อยกว่า คะแนนแบบบัญชีรายชื่อเสมอ  ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่ปกติและเหมือนกัน
                                            50
           ทั่วโลก เพราะในการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตนั้น พรรคขนาดใหญ่จะถูกผู้สมัคร
           ของพรรคขนาดกลางและขนาดเล็กมาแบ่งคะแนนไป การตัดคะแนนเสียงเลือก

           ส.ส. บัญชีรายชื่อทิ้ง แล้วใช้คะแนนเลือกตั้งแบบแบ่งเขตมาคิดที่นั่ง ส.ส. ทั้งสภา

           50    ดูตารางที่ 6 (ผลการเลือกตั้ง 6 กุมภาพันธ์ 2548) และตารางที่ 7 (ผลการเลือกตั้ง 3 กรกฎาคม
           2554)
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65