Page 832 - kpiebook65012
P. 832
832
6. ความส�าคัญของการสร้างเครือข่ายพันธมิตร
การเลือกตั้ง (The Importance of Coalitions)
ดังที่ได้กล่ำวไปแล้วงำนวิจัยในยุคบุกเบิกกับประเด็นกำรเติบโต
ของจ�ำนวนนำยกเทศมนตรีผิวด�ำที่มำจำกกำรเลือกตั้งในช่วงทศวรรษที่
1960 และ 1970 จะวำงจุดเน้นไปที่เรื่องของกำรสร้ำงพันธมิตรกำรเลือกตั้ง
ที่เป็นสิ่งที่จ�ำเป็นในกำรได้รับชัยชนะจำกกำรเลือกตั้ง สิ่งที่พบจำกกำรศึกษำ
ก็คือบรรดำผู้กระท�ำกำรหลักในชัยชนะจำกกำรเลือกตั้งในยุคแรก ๆ นั้น
ก็คือผู้กระท�ำกำรหลักที่เป็นชนชั้นน�ำ ทั้งบรรดำนักกำรเมือง และ แกนน�ำ
นักกิจกรรม (activists) ทั้งสองกลุ่มนี้จะมำเจรจำต่อรองกันในเรื่อง
กำรจัดกำรกำรเลือกตั้งโดยวำงบนฐำนเรื่องผลประโยชน์ร่วมกันและ
อุดมกำรณ์ บรรดำผู้น�ำของชุมชนคนผิวด�ำในช่วงเวลำนั้นสำมำรถหำ
ควำมเห็นพ้องต้องกันทำงอุดมกำรณ์กับบรรดำคนผิวขำวเสรีนิยม และ
ชำวลำติโน่ และด้วยเงื่อนไขที่คนเหล่ำนี้ถูกกีดกันจำกวงอ�ำนำจกำรเมือง
ในกำรบริหำรจัดกำรเมืองเหมือน ๆ กัน ท�ำให้ผู้น�ำของกลุ่มเหล่ำนี้
ร่วมมือกันในกำรสร้ำงพันธมิตรเลือกตั้ง โดยทั่วไปแล้วจะเห็นกำรสร้ำง
พันธมิตรเลือกตั้งและชัยชนะของกลุ่มพันธมิตรในเมืองที่มีลักษณะที่
ต้องกำรกำรเปลี่ยนแปลง (reform cities) ที่ระบอบอ�ำนำจของเมือง
ซึ่งมีลักษณะอนุรักษ์นิยมอำจจะพ่ำยแพ้จำกกำรเลือกตั้งจำกพันธมิตร
ที่เลือกตั้งที่ร่วมมือกันรณรงค์เป็นอย่ำงดี ทั้งมีลักษณะเสรีนิยม และ
แสดงออกว่ำต่อต้ำนโครงสร้ำงอ�ำนำจที่มีอยู่ (insurgent) ในอีกด้ำนหนึ่ง
เมืองที่ถูกปกครองโดยระบอบกำรเมืองแบบจักรกล (machine politics
ในควำมหมำยของระบบอุปถัมภ์ที่แลกเปลี่ยนคะแนนเสียงกับโครงกำร
ลงไปตำมกลุ่มผลประโยชน์ต่ำง ๆ – หมำยเหตุโดยพิชญ์ พงษ์สวัสดิ์)