Page 837 - kpiebook65012
P. 837

การเลือกตั้งท้องถิ่นในกรุงเทพมหานครจากอดีตถึงการครองอ�านาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
         บทส�ารวจประเด็นการเมืองในมิติของการเลือกตั้งท้องถิ่นและปัญหาการพัฒนากรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2518-2565)  837

                  8. อัตลักษณ์ทางสังคมและความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม
          (Social Identities and Group Conflict)


                  ในทำงสังคมวิทยำ เมื่อพูดถึงเรื่องควำมขัดแย้งระหว่ำงกลุ่ม จะ
          เห็นประเด็นของกำรเอำชำติพันธุ์ตนเองเป็นศูนย์กลำง (ethnocentric)

          และกำรเลือกปฏิบัติที่มีรำกฐำนมำจำกควำมแตกต่ำงระหว่ำงกลุ่ม (group-
          based discrimination) ที่มีเหตุมำจำกกำรแข่งขันแย่งชิงกันในเรื่อง
          ของทรัพยำกรที่เป็นวัตถุและที่เป็นเรื่องของสัญลักษณ์ ควำมสัมพันธ์

          ระหว่ำงกลุ่มเองในภำพรวมแล้วก็เปรำะบำงต่อควำมขัดเแย้ง และ
          ควำมไม่เป็นมิตรกันระหว่ำงกลุ่ม (intergroup hostilities) ก็มักจะ

          ยกระดับขึ้นเมื่อกลุ่มที่ด้อย/เป็นเบี้ยล่ำงต่ำง ๆ เริ่มท้ำทำยควำมสัมพันธ์
          ทำงอ�ำนำจที่ต้องกำรรักษำสิ่งที่เป็นอยู่ไว้ (status quo power relations)
          กลุ่มต่ำง ๆที่สร้ำงพันธมิตรทำงอ�ำนำจที่ครอบง�ำชุมชนหนึ่ง ๆ เอำไว้

          อำจจะมองกำรท้ำทำยนั้นว่ำเป็นกำรคุกคำมวิถีชีวิตของตน ทรัพยำกร
          ที่มีคุณค่ำ และกำรปฏิบัติต่ำง ๆ ที่ได้รับกำรยอมรับอยู่แล้ว ดังนั้น

          กลุ่มต่ำง ๆ ที่แข่งขันกันมักจะรวมตัวกันด้วยผลประโยชน์ และผลก็คือ
          พื้นที่/เขตทำงกำรเมืองที่วำงอยู่บนฐำนของผลประโยชน์ (interest-based
          constituencies) ที่ใช้ควำมเป็นสมำชิกของกลุ่มในฐำนะที่เป็นจุดตั้งต้น/

          สัญญำนส�ำหรับทัศนคติทำงกำรเมืองและพฤติกรรมทำงกำรเมือง

                  ในมุมมองของ Bobo (1983 และ 1988) ควำมเป็นไปได้

          ในกำรที่จะมีควำมขัดแย้งระหว่ำงกลุ่มนั้นจะถูกเร่งขึ้นเมื่อทรัพยำกร
          ที่เป็นที่ต้องกำรนั้นมีลักษณะที่หำยำก/ขำดแคลน หรือ เมื่อรำงวัล/
          กำรตอบแทนนั้นถูกคำดว่ำเป็นลักษณะที่ถ้ำฝ่ำยหนึ่งได้ อีกฝ่ำยจะไม่ได้เลย
   832   833   834   835   836   837   838   839   840   841   842