Page 838 - kpiebook65012
P. 838

838



        (zero-sum) ด้วยเหตุนี้ควำมขัดแย้งระหว่ำงกลุ่มจึงไม่ใช่สภำวะที่หยุดนิ่ง
        กำรกระทบกระทั่งกันระหว่ำงกลุ่มต่ำง ๆ จะมีขึ้นลงในฐำนะของ

        กำรตอบสนองต่อปัจจัยหลำยประกำรที่ก�ำหนดเงื่อนไขของควำมขัดแย้งนั้น
        รวมไปถึงเรื่องของระดับที่ปัจเจกบุคคลจะคำดกำรณ์ต่อควำมขำดแคลน
        และขนำดของกลุ่มต่ำง ๆ ที่แข่งขันแย่งชิงกัน หรือควำมเหนียวแน่นใน

        แต่ละกลุ่มที่แข่งขันแย่งชิงกัน และ ระดับของผลประโยชน์ที่เข้ำใจร่วมกัน
        และเห็นว่ำส�ำคัญในกลุ่มที่มีระดับของกำรแบ่งแยกกัน กล่ำวโดยสรุปแล้ว

        แนวคิดเรื่องควำมขัดแย้งระหว่ำงกลุ่มนั้นมีควำมใกล้เคียงกับงำนระดับ
        คลำสสิคคือ The American Voter ของ Campbell และคณะ (1960)
        ที่พูดถึงตัวแบบของอิทธิพลของกลุ่ม (group influence) โดยงำน

        ทั้งสองแบบนี้มีจุดร่วมที่ว่ำ ระดับของควำมแตกต่ำงทำงกำรเมืองที่
        โดดเด่นของแต่ละกลุ่ม (political distinctiveness) นั้นขึ้นอยู่กับระดับของ

        กำรระบุตัวตนของปัจเจกบุคคลกับกลุ่มและระดับของควำมเหนียวแน่น
        ของกลุ่ม


                 อย่ำงไรก็ตำม ทฤษฎีว่ำด้วยควำมขัดแย้งของกลุ่มนั้นไปไกลกว่ำ
        ทฤษฎีอิทธิพลของกลุ่มตรงที่ว่ำปัจจัยเรื่องกำรระบุตัวตนกับกลุ่มและ
        ควำมเหนียวแน่นของกลุ่มนั้นมีลักษณะเป็นพลวัตรและขึ้นกับกำรแข่งขัน

        ที่ถูกคำดกำรณ์ (percived competition) ระหว่ำงกลุ่มดังนั้นภำยใต้
        สถำนกำรณ์ที่กำรคำดกำรณ์/รับรู้ของกำรแข่งขันระหว่ำงกลุ่มต่อทรัพยำกร

        ที่ขำดแคลนนั้นมีระดับต�่ำ กลุ่มต่ำง ๆ อำจจะแสดงออกซึ่งระดับของส�ำนึก
        ของกลุ่มในระดับต�่ำ (group consciouseness) ดังนั้นควำมเป็นไปได้
        ส�ำหรับกำรลงคะแนนเสียงที่สะท้อนควำมโดดเด่นของกำรลงคะแนนที่

        ออกมำเป็นแบบกลุ่มก็จะมีในระดับต�่ำ และภำยใต้สถำนกำรณ์ที่ผู้สมัคร
   833   834   835   836   837   838   839   840   841   842   843