Page 648 - kpiebook65012
P. 648
648
ผู้ที่มีรำยได้ของครอบครัวสูงจะไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำร
กรุงเทพมหำนครมำกกว่ำผู้ที่มีรำยได้ของครอบครัวต�่ำ ซึ่งสอดคล้องกับ
ข้อค้นพบในกำรเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนครเมื่อ 2 มิถุนำยน
2539 ของจุฑำทิพย์ สุขรังสรรค์ (2529) อย่ำงไรก็ตำม สัดส่วนของ
วัยรุ่น 18-19 ปี ที่มีสิทธิเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนครนั้น
มีอยู่เพียง 180,000 คนเท่ำนั้น ถือเป็นสัดส่วนที่น้อยนิดเมื่อเทียบกับ
จ�ำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนครทั้งหมด นอกจำกนั้น
วัยรุ่นในวัย 18-19 ปีที่มีสิทธิเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนคร
ร้อยละ 26.7 จะมีควำมรู้ควำมเข้ำใจทำงกำรเมืองในระดับสูง ร้อยละ 56.6
ซึ่งถือเป็นส่วนใหญ่ จะมีควำมรู้ควำมเข้ำใจทำงกำรเมืองกำรปกครอง
ระบอบประชำธิปไตย รู้ในเรื่องระบบกำรเมือง มีควำมรู้ควำมเข้ำใจ
เกี่ยวกับกำรเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนครอยู่ในระดับปำนกลำง
และมีเพียงร้อยละ 16.7 ที่มีควำมรู้ควำมเข้ำใจกำรเมืองในระดับต�่ำ
งำนของจิรำยุ ทรัพย์สิน (2540) เรื่อง ควำมคิดเห็นของนิสิต
ที่มีต่อกำรเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนคร : ศึกษำเฉพำะกรณีนิสิต
ปริญญำตรี คณะสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ (วิทยำนิพนธ์
ปริญญำศิลปศำสตรมหำบัณฑิต (รัฐศำสตร์) มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์)
มีข้อค้นพบไปในทิศทำงเดียวกันกับงำนของมะลิวัลย์ ธนชำติบรรจง (2539)
โดยพบว่ำ นิสิตปริญญำตรี คณะสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์
มีควำมคิดเห็นต่อกำรเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนครในระดับ
ปำนกลำง โดยปัจจัยที่มีผลต่อควำมคิดเห็นของนิสิตปริญญำตรี
คณะสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ ได้แก่ อำยุ และชั้นปี
กำรศึกษำ ส่วนปัจจัยด้ำน เพศ ภูมิล�ำเนำเดิม สำขำวิชำที่ศึกษำ กำรเข้ำร่วม