Page 645 - kpiebook65012
P. 645
การเลือกตั้งท้องถิ่นในกรุงเทพมหานครจากอดีตถึงการครองอ�านาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
บทส�ารวจประเด็นการเมืองในมิติของการเลือกตั้งท้องถิ่นและปัญหาการพัฒนากรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2518-2565) 645
เป็น 164 คน) และมีนโยบำยเข้ำมำแก้ไขปัญหำต่ำง ๆ ของท้องถิ่น
สุรพลพบว่ำ สำเหตุที่คนมำใช้สิทธิน้อยก็เพรำะว่ำโครงสร้ำงของสังคม
กรุงเทพฯ เป็นสังคมที่ขำดควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกัน และขำดควำมผูกพัน
ต่อท้องถิ่น ประกอบกับคนกรุงเทพฯ นั้นเคยชินกับกำรถูกปกครอง
(อย่ำลืมว่ำกำรเลือกตั้งในปี 2518 นั้นเป็นกำรเลือกตั้งกรุงเทพมหำนคร
เป็นครั้งแรก ก่อนหน้ำนั้นแม้ว่ำกรุงเทพมหำนครจะมีสถำนะเป็นเทศบำล
แต่ก็เป็นเทศบำลที่ไม่มีนำยกเทศมนตรีที่มำจำกกำรเลือกตั้ง) นอกจำกนี้
กรุงเทพมหำนครยังเป็นเมืองธุรกิจที่ท�ำให้มีภำระในกำรอำชีพมำกกว่ำ
เห็นควำมส�ำคัญในกำรใช้สิทธิเลือกตั้ง กรุงเทพมหำนครเองก็ขำด
กำรประชำสัมพันธ์เท่ำที่ควรที่จะกระตุ้นให้ประชำชนมำใช้สิทธิเลือกตั้ง
อีกทั้งภำพพจน์ของนักกำรเมืองก็มีภำพของกำรมุ่งแสวงหำประโยชน์
ส่วนตนท�ำให้ประชำชนขำดศรัทธำต่อกำรเมือง
ในกำรเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนครครั้งที่ 2 เมื่อ
14 พฤศจิกำยน 2528 ซึ่งเป็นครั้งแรกของกำรเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำร
กรุงเทพมหำนครที่ใช้พระรำชบัญญัติกำรบริหำรรำชกำรกรุงเทพมหำนคร
พ.ศ. 2528 (ซึ่งใช้จนถึงปัจจุบัน) กำรศึกษำของ จุฑำทิพย์ สุขรังสรรค์
(2529) เรื่อง พฤติกรรมกำรลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำร
กรุงเทพมหำนคร (วิทยำนิพนธ์ปริญญำรัฐศำสตรมหำบัณฑิต
จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย) พบว่ำปัจจัยทำงด้ำนเศรษฐกิจและสังคม
อันได้แก่ เพศ อำยุ กำรศึกษำ รำยได้ และอำชีพ มีควำมสัมพันธ์กับ
แบบแผนพฤติกรรมกำรลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง กล่ำวคือ ผู้ที่มีฐำนะ
ทำงด้ำนเศรษฐกิจและสังคมปำนกลำงขึ้นไป มีกำรศึกษำสูง อำยุอยู่ใน
ช่วงวัยหนุ่มสำว (20-30 ปี) จนถึงวัยกลำงคน (31-40 ปี) มีแนวโน้ม