Page 646 - kpiebook65012
P. 646
646
ไปลงคะแนนเสียงโดยควำมส�ำนึกของตัวเองมำกกว่ำกำรถูกระดม
แต่ในกำรตัดสินใจเลือกผู้สมัครคนใดคนหนึ่งในกำรลงคะแนนกลับ
ตัดสินใจได้ล่ำช้ำและมีควำมแน่นอนในกำรตัดสินใจน้อยกว่ำผู้ที่มีวัย
สูงอำยุ ส่วนผู้ที่มีฐำนะทำงเศรษฐกิจและสังคมต�่ำ มีกำรศึกษำต�่ำมักจะ
ไปลงคะแนนเสียงโดยกำรชักจูงจำกผู้อื่นมำกกว่ำผู้ที่มีฐำนะทำงเศรษฐกิจ
และสังคมสูง พวกเขำตัดสินใจว่ำจะเลือกผู้สมัครคนใดคนหนึ่งได้ช้ำ
และมีควำมเป็นตัวของตัวเองในกำรตัดสินใจน้อยกว่ำ จุฑำทิพย์พบอีกว่ำ
แบบแผนกำรลงคะแนนเสียงผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนครนั้นเป็นไป
ในทิศทำงเดียวกับแบบแผนพฤติกรรมกำรเลือกตั้งในระดับชำติ กล่ำวคือ
ผู้ที่มีฐำนะทำงเศรษฐกิจและสังคมปำนกลำงขึ้นไป มีกำรศึกษำสูงในระดับ
ปริญญำตรีขึ้นไป จะไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งด้วยควำมส�ำนึกของ
ตัวเองสูง ตัดสินใจว่ำจะเลือกใครได้รวดเร็วและแน่นอนกว่ำผู้ที่มีฐำนะ
ทำงเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนกำรศึกษำต�่ำ
กำรเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนครเมื่อ 2 มิถุนำยน
2539 มีควำมส�ำคัญในเรื่องของกำรปรับพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำร
รำชกำรกรุงเทพมหำนคร โดยพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำร
กรุงเทพมหำนคร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2539 ได้เปลี่ยนอำยุของผู้มีสิทธิ
เลือกตั้งจำกอำยุ 20 ปี มำเป็น 18 ปี งำนวิจัยของมะลิวัลย์ ธนชำติบรรจง
(2539) เรื่อง ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงพฤติกรรมกำรสื่อสำรและปัจจัย
ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมกำรลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำร
กรุงเทพมหำนคร 2 มิถุนำยน 2539 ของผู้มีอำยุ 18-19 ปี (วิทยำนิพนธ์
ปริญญำนิเทศศำสตรมหำบัณฑิต มหำวิทยำลัยกรุงเทพ) พบว่ำจำก
กลุ่มตัวอย่ำงที่จัดเก็บมำนั้น วัยรุ่นอำยุ 18-19 ปี ส่วนใหญ่ถึงร้อยละ