Page 647 - kpiebook65012
P. 647

การเลือกตั้งท้องถิ่นในกรุงเทพมหานครจากอดีตถึงการครองอ�านาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
         บทส�ารวจประเด็นการเมืองในมิติของการเลือกตั้งท้องถิ่นและปัญหาการพัฒนากรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2518-2565)  647


          61.7 ไปใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนคร
          (กำรเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนครในอดีตนั้นมีผู้ไปใช้สิทธิน้อยมำก

          ในครั้งแรกเมื่อ 10 สิงหำคม 2518 มีคนไปใช้สิทธิเพียง ร้อยละ 13.86
          และหลังจำกนั้นก็อยู่ที่ประมำณ ร้อยละ 34-35 แต่ครั้งนี้มีผู้ใช้สิทธิ
          ถึงร้อยละ 43.53 จำกกำรศึกษำของ จิรำยุ ทรัพย์สิน (2540) เรื่อง

          ควำมคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อกำรเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนคร :
          ศึกษำเฉพำะกรณีนิสิตปริญญำตรี คณะสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัย

          เกษตรศำสตร์ (วิทยำนิพนธ์ปริญญำศิลปศำสตรมหำบัณฑิต (รัฐศำสตร์)
          มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์)) มะลิวัลย์ ธนชำติบรรจง (2539) ชี้ว่ำ
          โดยร้อยละ 45.0 ของวัยรุ่นที่ไปลงคะแนนเสียงส่วนใหญ่จะไป

          ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งด้วยควำมตั้งใจอย่ำงแน่วแน่ว่ำจะไปให้ได้
          ตั้งแต่ตอนแรก และร้อยละ 16.7 ของกลุ่มที่ลังเลไม่แน่ใจจะไปเลือกตั้ง

          ตอนแรกก็เปลี่ยนใจไปลงคะแนนเสียงในที่สุด นอกจำกนี้แล้ว มะลิวัลย์
          ธนชำติบรรจง (2539) พบว่ำ เพศไม่มีควำมสัมพันธ์กับพฤติกรรม
          กำรไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ทั้งเพศชำยและหญิงในวัย 18-19 ปี

          ต่ำงไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในจ�ำนวนที่ไล่เลี่ยกัน ซึ่งสอดคล้องกับ
          งำนของจุฑำทิพย์ สุขรังสรรค์ (2529) ที่ศึกษำพฤติกรรมกำรเลือกตั้ง

          ผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนครเมื่อ 14 พฤศจิกำยน 2528 มะลิวัลย์
          ธนชำติบรรจง (2539) ยังพบว่ำ ระดับกำรศึกษำไม่มีควำมสัมพันธ์กับ
          กำรไปลงคะแนนเลือกตั้งผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนครเมื่อ 2 มิถุนำยน

          2539 ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งในวัย 18-19 ปี

                  ส�ำหรับเรื่องของควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรำยได้ (ของครอบครัว)

          กับกำรลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง มะลิวัลย์ ธนชำติบรรจง (2539) พบว่ำ
   642   643   644   645   646   647   648   649   650   651   652