Page 170 - kpiebook64008
P. 170
ช่องทาง จ านวน ร้อยละ อันดับ
อื่นๆ 7 2.8 10
YouTube 6 2.6 11
รวม 375 164.2
จากตารางที่ 5.19 กลุ่มประชากรที่อาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ที่ตอบแบบส ารวจช่องทางการสื่อสารที่ส่งผลต่อ
การตัดสินใจลงคะแนนเสียงเลือกตั้งส่วนใหญ่เป็นการรณรงค์หาเสียงของพรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมืองคิดเป็น
ร้อยละ 60.1 เสียงตามสายในชุมชน คิดเป็นร้อยละ 32 และ Facebook คิดเป็นร้อย 23.7 ตามล าดับ
แผนภูมิที่ 5.15 แสดงจ านวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามช่องทางการสื่อสารที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ
ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
อื่นๆ
การรณรงค์หาเสียงของพรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมือง
YouTube
line
Instagram
ทวิตเตอร์
Facebook
วิทยุ
เสียงตามสายในชุมชน
โทรทัศน์
หนังสือพิมพ์
0 50 100 150
ในภาพรวมของข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกตั้ง ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
ที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกตั้ง จะพบว่ากลุ่มตัวอย่างทั้งกลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 400 ตัวอย่าง และ
กลุ่มบุคคลทั่วไปในฐานะผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง จ านวน 236 คน ต่างมีความรู้ความเข้าใจในประเด็นพื้นฐานของการ
เลือกตั้ง เช่น การรู้วันเลือกตั้ง และรู้ว่าหากไม่ไปเลือกตั้งต้องแจ้งรักษาสิทธิ์ของตน แต่จากข้อมูลพบว่าความสนใจ
และความตื่นตัวในการเลือกตั้งท้องถิ่นของกลุ่มนักศึกษายังมีค่อนข้างน้อย ความผูกพันและความเข้าใจต่อพื้นที่
จังหวัดเชียงใหม่ส่งผลให้การเลือกตั้งท้องถิ่นอาจจะไม่มีความส าคัญเท่ากับการเลือกตั้งระดับชาติ ซึ่งในความเป็นจริง
แล้วการด ารงชีวิตในจังหวัดเชียงใหม่ของนักศึกษากว่า 4 ปี มีความส าคัญต่อการบริหารจัดการขององค์กรปกครอง
โครงการศึกษาการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น ปี 2563: การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ 149