Page 101 - kpiebook63030
P. 101
100 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562
จังหวัดปัตตานี
5.1 บทบำทของคณะกรรมกำรกำรเลือกตั้งจังหวัดปัตตำนี
รัฐธรรมนูญปี 2560 กำาหนดให้มีคณะกรรมการการเลือกตั้ง 7 คน ตามมาตรา 222 และให้
พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำาแนะนำาของวุฒิสภา โดยกำาหนดให้มีคณะกรรมการสรรหามาตรา 203
เป็นผู้คัดเลือกซึ่งประกอบด้วยประธานศาลฎีกาเป็นประธานกรรมการ ประธานสภาผู้แทนราษฎรและ
ผู้นำาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรเป็นกรรมการ ประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นกรรมการ บุคคลซึ่ง
องค์กรอิสระแต่งตั้งจากผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา 201 และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 202 และ
ไม่เคยปฏิบัติหน้าที่ใดๆ ในศาลรัฐธรรมนูญหรือองค์กรอิสระ องค์กรละ 1 คนเป็นกรรมการ
สำาหรับจังหวัดปัตตานี ผู้อำานวยการคณะกรรมการการเลือกตั้งโดยมี ร.ต.อ.สมนึก กุลมณี
ทำาหน้าที่เป็นผู้อำานวยการ ได้ดำาเนินการจัดการเลือกตั้ง ปัตตานีเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีความรุนแรงในพื้นที่
จังหวัดชายแดนภาคใต้ตลอดระยะเวลา 15 ปีที่ผ่านมา จึงต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษเพื่อให้การดำาเนิน
การเลือกตั้งผ่านไปด้วยดี ลักษณะเฉพาะเจาะจงคือการมีหน่วยงานทหารเข้ามาทำาหน้าที่ช่วยเหลือใน
การเลือกตั้ง เช่นในหน่วยการเลือกตั้งทุกๆ หน่วยจะมีทหารจำานวน 2 นายเข้ามารักษาความปลอดภัย
และเอื้ออำานวยให้การเลือกตั้งดำาเนินไปอย่างราบรื่น
สิ่งที่น่าสนใจสำาหรับการเลือกตั้งครั้งนื้คือ ไม่มีเหตุการณ์ความรุนแรงเกิดขึ้นในพื้นที่ทุกหน่วย
ของการเลือกตั้งในจังหวัดปัตตานี จากการสัมภาษณ์ผู้อำานวยการสำานักงานคณะกรรมการเลือกตั้งจังหวัด
ปัตตานี ร.ต.อ สมนึก กุลมณี ได้กล่าวว่า “ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งจากฝ่ายข้าราชการ ทหาร
ต�ารวจ ฝ่ายปกครอง และประชาชนต่างๆ ในพื้นที่ ซึ่งจ�านวนของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย (รปภ.)
ที่ท�าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจ�าหน่วยการเลือกตั้งจ�านวนหน่วยละ 4 นาย ได้แก่ ต�ารวจและ
เจ้าหน้าที่ของฝ่ายปกครอง ส�าหรับทหารก็จะดูแลเส้นทางเป็นหลัก ซึ่งในส่วนนี้ก็มีการใช้งบประมาณ
จ�านวนมาก รวมไปถึงค่าตอบแทนของคณะกรรมการประจ�าหน่วยเลือกตั้ง (กปน.) ประจ�าหน่วยการเลือกตั้ง
ในพื้นที่ของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จะเป็นจ�านวน 2 เท่าจากปกติ เนื่องจากการเลือกตั้งโดยปกติ
ก็จะเกิดเหตุการณ์ทุกครั้ง ไม่เช่นนั้นก็จะไม่มีบุคคลใดที่จะมาท�าหน้าที่เป็น กปน. เลย” (สัมภาษณ์ ร.ต.อ สมนึก
กุลมณี, ผู้อำานวยการสำานักงานคณะกรรมการเลือกตั้งประจำาจังหวัดปัตตานี, วันที่ 2 กรฎกาคม 2562)
จะสังเกตได้ว่า การจัดการเลือกตั้งในเขตพื้นที่ความรุนแรงต้องใช้กำาลังคน หน่วยงานความมั่นคง
เข้ามาช่วยดำาเนินการเลือกตั้งเป็นกรณีพิเศษ ในอีกด้านหนึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการเพิ่มของงบประมาณที่
เพิ่มสูงขึ้นแตกต่างจากพื้นที่อื่นๆ ของประเทศ นี้คือลักษณะเฉพาะในเขตพื้นที่ความรุนแรง
การรับภารกิจการจัดการเลือกตั้งในเขตพื้นที่ความรุนแรงจะต้องเผชิญกับความท้าทายหลาย
ประการ แต่อย่างไรตาม การมีส่วนร่วมการเลือกตั้งจากประชาชนก็เป็นหมุดหมายที่สำาคัญอันจะสะท้อน
ถึงระบอบประชาธิปไตยในสังคม สอดคล้องกับข้อเสนอของ กกต.จังหวัดปัตตานี “ต้องการที่จะให้เกิด
การเลือกตั้งของประชาชน กล่าวคือ การส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมด้วย เป็นการจัดการเลือกตั้ง