Page 60 - kpiebook63023
P. 60
60 ชุดวิชา ประชาธิปไตยท้องถิ่น (Local Democracy)
และข้อดีข้อเสียของโครงการ เป็นการให้ข้อมูลแก่ประชาชนในเบื้องต้นก่อนการโหวตลงคะแนนว่าชุมชน
จะเลือกโครงการใดให้องค์กรไปทำา นอกจากนี้ยังมีการตั้งคณะกรรมการเพื่อกลั่นกรองแผนและกิจกรรมด้วย
เมื่อประชาชนโหวตแล้วเทศบาลก็จะจัดสรรเงินตามที่สัญญาไว้เพื่อให้องค์การดำาเนินการตามแผนที่เสนอแก่
ประชาชน เมื่อเวลาผ่านไป วิธีการนี้ได้รับความนิยมมากขึ้น องค์กรที่เข้าร่วมเพิ่มจาก 81 องค์กรเป็น 130 องค์กร
และได้เงินทุนเพิ่มจาก 12 ล้านเยน (เกือบ 4 ล้านบาท) เป็น 20 ล้านเยน (ประมาณ 6 ล้านบาท) โดยมีโครงการ
11
ที่น่าสนใจ เช่น การสร้างสระว่ายนำ้าเพื่อผู้ป่วยทางจิต เป็นต้น
11 ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. งบประมาณแบบมีส่วนร่วม : บทเรียนจากต่างประเทศและความท้าทายสำาหรับ
ประเทศไทย. วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 : 24 – 25. และ Scott Fletcher. Participatory
Budgeting in Ichikawa City (Japan). [Online]. 2018. Available from: https://participedia.net/en/cases
/1-support-scheme-participatory-budgeting-ichikawa-city-japan [2018, September 17]