Page 246 - kpiebook62009
P. 246

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการประเมินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อเข้ารับรางวัลพระปกเกล้า ประจำปี 2562



                                - เน้นการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และยกระดับการท่องเที่ยวของจังหวัดลำพูน ตลอดจน

                  เป็นชุมชนเรียนรู้การจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
                                - พบสถิตินักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 25 ราย ได้เพิ่มขึ้น

                                - นอกจากนี้ยังพบ การพัฒนารูปแบบโคม เรียกว่า “ตุงสกุลลำพูน”  เทียน มีการลง

                  อักขระ คาถา เป็นอัตลักษณ์ เพื่อเสริมสร้างสิริมงคล และส่งเสริมอัตลักษณ์ชุมชนร่วมด้วย
                                - ผลจากโครงการ “ประชาชนได้รับประโยชน์ทั้งมิติด้านสังคม คุณภาพชีวิต การท่องเที่ยว

                  และการมีอาชีพ การมีรายได้

                                - ได้รับรางวัล “เทศบาลน่าอยู่อย่างยั่งยืน”
                                - ไม่พบคนมีอายุ 60 ปี ขึ้นไปตกเกณฑ์รายได้

                                - จะมี ระบบการท่องเที่ยวการเชื่อมการท่องเที่ยวระหว่างจังหวัด

                                - ประชาสังคมร่วมเป็นคณะกรรมการในการขับเคลื่อน
                                กล่าวโดยสรุป “คุณค่าทางเศรษฐกิจที่หลากหลายรูปแบบ เป้าหมาย คือ ชุมชนมีรายได้

                  เพิ่มขึ้น ครอบคลุม และกระจายรายได้” “อาชีพ วัฒนธรรม + ชุมชน = รายได้”

                            (3) โครงการ การดูแลผู้สูงอายุติดเตียงโดยชุมชนเป็นฐาน
                                ฐานแนวคิดการทำงาน คือ ทั่วถึง ครอบคลุม มีส่วนร่วม โดยต่อยอดจากระบบการดูแล

                  ผู้สูงอายุ จากแผนชุมชน (แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์) ซึ่งได้ดำเนินการค้นหาปัญหาอย่างมีส่วนร่วม มี

                  ความสอดคล้องกับศูนย์บริการสาธารณสุข (คลินิคชุมชน) ที่มีการดำเนินการเรื่องนี้ นำมาวิเคราะห์ร่วมกัน
                  ประกอบกับนโยบายที่ต่อยอดที่มีการลงลึกเกี่ยวกับกลุ่มผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง ติดเตียง และผู้ป่วยติดเตียง

                  ข้อมูลยังสอดคล้องกับ สสอ. ตรงนี้เป็นการทำงานอย่างมีส่วนร่วมกับภสาคส่วนต่างๆ โดยได้นำมาวิเคราะห์

                  ร่วมกันระหว่าง ด้วยประชาชนในเขตพื้นที่เทศบาลมีผู้สูงอายุคิดเป็นร้อยละ 25 โดยมีผู้สูงอายุ
                  ติดเตียง 2% ดังนั้น จึงต้องพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุด้านสาธารณสุข/ สังคม ภายใต้การสร้างการมี

                  ส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน และภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตลอดจนพัฒนา
                  อาสาสมัครชุมชนในการดูแลที่มีความเชี่ยวชาญและเพิ่มความชำนาญการยิ่งขึ้น

                                จุดเด่นด้านความโปร่งใส

                                กระบวนการที่สะท้อนความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของโครงการ
                                (1) การมีส่วนร่วมของประชาชน เริ่มตั้งแต่การค้นหาข้อมูลเชิงลึก ต่อยอดข้อมูล และผล

                  การดำเนินการด้านระบบการดูแลผู้สูงอายุ วิเคราะห์ข้อมูลและนำข้อมูลจากหลายภาคี ตลอดจนประชุม

                  ระดมความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ในการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง ผู้ป่วยติดเตียง ดำเนินการ
                  พัฒนาระบบและเพิ่มประสิทธิภาพอาสาสมัครที่เข้ามามีส่วนร่วม








                                                            205
   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251