Page 174 - kpiebook62005
P. 174

เปรียบเทียบคุณภาพแหล่งน  าตามที่ต่าง ๆ เรียงล าดับคุณภาพจากดีไปแย่ได้ดังนี  คือ การประปานครหลวง

               ตู้น  าหยอดเหรียญ การประปาภูมิภาค ถังบรรจุน  า 20 ลิตร น  าบาดาล อปท. น  าฝน ประปาภูเขา และที่ไม่ปลอดภัย

               เลยคือ บ่อน  าตื น

                       สรุปสถานการณ์ น  าบริโภคครัวเรือนมีแนวโน้มผ่านเกณฑ์มาตรฐานมากขึ น แต่โดยรวมแล้วยังอยู่ในระดับ

               ที่ต่ า โดยมีค่าเฉลี่ย 10 ปี ร้อยละ 32.1 ตั งแต่ปี 2556 คุณภาพน  าผ่านเกณฑ์มาตรฐานมากกว่าค่าเฉลี่ย 10 ปี

                       สาเหตุที่น  าบริโภคครัวเรือนไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เพราะปนเปื้อนแบคทีเรียในภาชนะเก็บกัก ภาชนะ

               รองรับน  า ระบบท่อน  าในครัวเรือน แต่น  าประปาสามารถปรับปรุงด้วยเครื่องกรองประจ าบ้าน การต้ม เติมคลอรีน

               เป็นต้น


                       กรมอนามัยได้ด าเนินการพัฒนาคุณภาพน  าหลายมาตรการ ได้แก่ 1) สร้างความเชื่อมั่นคุณภาพน  าประปา

               การรองรับระบบผลิตน  าประปาสะอาด การพัฒนาคุณภาพน  าบริโภคขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) สร้าง

               ความตระหนักในการจัดการน้าบริโภคอย่างปลอดภัย เฝ้าระวังคุณภาพน  าบริโภคครัวเรือน พัฒนารูปแบบการ

               ปรับปรุงคุณภาพน  าบริโภค พัฒนาศักยภาพเครือข่ายระดับต าบลเพื่อการเฝ้าระวังคุณภาพน  าบริโภค 3) ก าหนด

               มาตรฐานคุณภาพน  าบริโภคของประเทศ สร้างนวัตกรรมในการพัฒนาคุณภาพน  าบริโภค การสื่อสารสู่ประชาชน

               จัดท ารายงานเผยแพร่ น าเสนอข่าวสื่อสารความเสี่ยงและสร้างความรอบรู้สู่ประชาชน



                                 กรณีศึกษาการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็ก




               นายเสกสรร แสงดาว ผู้อ้านวยการส่วนแผนงานและประมวลผล กรมควบคุมมลพิษ

                       กรมควบคุมมลพิษได้ด าเนินการตรวจวัดและรายงานข้อมูล pm 2.5 โดยจัดท าค่ามาตรฐานคุณภาพ

               อากาศและวิธีการตรวจวัด สร้างเครือข่ายการติดตามคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษ ปัจจุบันติดตั งสถานี


               ตรวจวัดแบบอัตโนมัติ 63 แห่งใน 33 จังหวัดทั่วประทศ มีหน่วยตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบเคลื่อนที่ 9 จุด และ
               ปลายปี 2562 จะเพิ่มเป็น 64สถานี ใน 34จังหวัด และหน่วยตรวจวัดแบบเคลื่อนที่อีก 10 จุด


                       เรามีเครื่องมือตรวจวัดที่มาตรฐาน มีการรายงานคุณภาพอากาศสู่สาธารณะผ่าน App Air4thai และเว็บ

               www.air4thai.pcd.go.th ซึ่งเป็นการรายงานแบบ Real time โดยดูความเข้มข้นของสารมลพิษ 6 ชนิด เช่น pm

               2.5, pm10, O3, No2, C0 และดัชนีคุณภาพอากาศ ผู้ใช้สามารถพิมพ์สถานที่ที่ต้องการรู้ผลคุณภาพอากาศราย






                                                              3
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179