Page 173 - kpiebook62005
P. 173

กรณีศึกษาการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารความปลอดภัยของน ้าดื่ม




               ดร.รัตมณี อ๋องสกุล นักวิจัยโครงการ

                       สิทธิเกี่ยวกับการเข้าถึงน้าสะอาดหรือการที่ทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับน้าอย่างเพียงพอ ปลอดภัย เข้าถึงได้โดย

               ทางกายภาพ ในราคาที่สามารถจ่ายได้เป็นหนึ่งในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ เป้าหมายที่ 6 ท า

               ให้มีน้าดื่มที่ปลอดภัยและราคาเหมาะสมภายในปี พ.ศ. 2573

                       รัฐได้ประกาศคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ เรื่อง การก าหนดให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ

               สิ่งแวดล้อมและสุขภาพเป็นข้อมูลข่าวสารที่ต้องจัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ตามมาตรา ๙ (๘) แห่ง

               พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ รายการที่ 4 รายงานข้อมูลการตรวจสอบมลพิษ สารพิษ

               วัตถุอันตราย คุณภาพสิ่งแวดล้อม รายงานที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบต่อสุขภาพ และรายการที่ 7 รายงานข้อมูล

               ผลกระทบการเฝ้าระวังและหรือข้อมูลข่าวสารสุขภาพ อาชีวอนามัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม

                       รัฐมีบทบาทในการจัดการน  าบริโภค ได้แก่ เป็นผู้ผลิต ผู้จัดท าเกณฑ์มาตรฐาน ผู้ควบคุมอนุญาตประกอบ

               กิจการ และผู้ดูแลตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภาพน  า ซึ่งต้องเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่ให้แก่ประชาชนเพื่อการเข้าถึงน  า

               ดื่มที่สะอาดปลอดภัย และให้ผู้บริโภคมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังคุณภาพน  าและสะท้อนปัญหาเพื่อพัฒนาปรับปรุง

               คุณภาพน  าให้ปลอดภัย



               คุณวิโรจน์ วัชระเกียรติศักดิ์ ส้านักสุขาภิบาลอาหารและน ้ากรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


                       เมื่อปี 2558 ส านักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรคพบผู้ป่วยโรคอุจาระร่วง โรคบิด ซึ่งเกิดจากการดื่มน้าไม่
               สะอาดทั่วประเทศ 1 ล้านกว่าคน จนต่อมาในปี 2560 พบว่า ครัวเรือนไทยมีน  าสะอาดส าหรับบริโภคเพียงพอ


               ตลอดปีอย่างน้อยคนละ 5 ลิตรต่อวัน ร้อยละ 99.79 แต่กระนั นปี 2561 ในช่วงเดือนมีนาคม -เมษายน 2561ทั่ว

               ประเทศพบผู้ป่วย โรคอุจจาระร่วง 209,470ราย

                       ข้อมูลสถานการณ์คุณภาพน้าบริโภคครัวเรือน ปี 2551-2561 พบว่า คุณภาพน  าดีขึ นตามล าดับ จากที่ต่ า

               กว่ามาตรฐานในปี 51 จนสามารถสูงกว่ามาตรฐานปี 53 และกลับมาต่ ากว่ามาตรฐานเล็กน้อยปี 54 หลังจากนั นก็

               สูงกว่ามาตรฐานมากที่สุดในปี 60 และลดระดับลงมาในปี 61

                       เมื่อดูองค์ประกอบคุณภาพน  าทั งกายภาพ เคมี และชีวภาพ พบว่า ค่าเฉลี่ยทุกด้านของปี 61 ดีกว่า

               ค่าเฉลี่ยรวม 10 ปี




                                                              2
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178