Page 165 - kpiebook62002
P. 165

มีส่วนได้ส่วนเสีย โครงการนี้ไม่ใช่แค่เป็นเวทีหารือระดับรัฐเท่านั้น แต่เป็นเวทีระดมสมองของทุกภาคส่วนทั้ง

               เอกชน NGOs และภาควิชาการ และ 5) ความสอดคล้องกับกติกาสากล ความร่วมมือด้านไซเบอร์ของอาเซียน
               จะสอดคล้องกับกฎหมายระหว่างประเทศอันเป็นที่ยอมรับในระดับสากล กลไกหลักในการขับเคลื่อนโครงการ

               ACCP คือ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์อาเซียน-สิงคโปร์ (ASEAN-Singapore

               Cybersecurity Centre of Excellence: ASCCE) ซึ่งสิงคโปร์ได้สนับสนุนทุนก่อตั้งจ านวนเกือบ 22 ล้าน
               เหรียญสหรัฐฯ เพื่อให้เป็นทั้งศูนย์คลังสมองและฝึกอบรมด้านไซเบอร์ ทีมตอบโต้เร็ว CERT และศูนย์ฝึกจ าลอง

               ยุทธ์ไซเบอร์ ขณะเดียวกับศูนย์ ACCE ก็จะร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับกลไกที่เกี่ยวข้องในด้านนี้อย่างศูนย์พัฒนา

               ขีดความสามารถด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์อาเซียน-ญี่ปุ่น (The Nation, 2018)
                       แม้ว่า อาเซียนจะหันมาให้ความส าคัญกับการพัฒนาความร่วมมือด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ใน

               ฐานะประเด็นความร่วมมือที่ส าคัญของภูมิภาค แต่ด้วยข้อจ ากัดของการสร้างความร่วมภายในภูมิภาคนี้ ท าให้

               อาเซียนมีความเสี่ยงต่อการถูกคุกคามทางไซเบอร์ ซึ่งจากรายงานของ A.T. Kearney (2017) พบว่า อาเซียนมี
               ความเสี่ยงที่จะถูกโจมตีทางไซเบอร์และจะส่งผลกระทบต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ เนื่องจากการเติบโตทาง

               เศรษฐกิจของภูมิภาคมีทิศทางมุ่งสู่การเป็นพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น ท าให้ภูมิภาคนี้ตกเป็นเป้าของการ

               โจมตีทางไซเบอร์ โดยอาเซียนยังขาดความพร้อมในการสร้างความมั่นคงทางไซเบอร์ ทั้งการขาดแคลน
               ผู้เชี่ยวชาญและแนวทางการรับมือ รวมทั้งกรอบความร่วมมือระดับภูมิภาคในเชิงปฏิบัติที่ครอบคลุมตั้งแต่การ

               เฝ้าระวังจึงถึงการฟื้นฟูระบบอย่างทันท่วงที รายงานฉบับนี้ยังแสดงถึงค่าใช้จ่ายด้านความมั่นคงปลอดภัยไซ

               เบอร์ของอาเซียนในปี 2017 รวมกันประมาณ 1,900 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นเพียงร้อยละ 0.06 ของ GDP
               ทั้งภูมิภาค ซึ่งมีการคาดการณ์ว่า อาเซียนจะมีค่าใช้จ่ายด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์เพิ่มขึ้นร้อยละ 15

               จากปี 2015-2025 โดยสิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย เป็นสามประเทศที่มีงบประมาณด้านความมั่นคง

               ปลอดภัยไซเบอร์มากที่สุด ตัวเลขดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า ในความเป็นจริงอาเซียนยังให้ความส าคัญกับความมั่นคง
               ปลอดภัยไซเบอร์น้อยเมื่อเทียบกับประเด็นอื่น เพราะจากการประเมินภัยคุกคามทางไซเบอร์ อาเซียนควรมี

               งบประมาณด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ร้อยละ 0.35-0.61 ในช่วงปี 2015-2025 ดังแผนภูมิด้านล่าง

               (Bangkok Post, 2018a)



















                                                          [149]
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170