Page 10 - 30423_Fulltext
P. 10

4



                       Businesses) โดยองค์กรก ากับกีฬาที่เป็นนิติบุคคลตามกฎหมายเอกชนและนิติบุคคลตามกฎหมาย

                       มหาชนอาจก าหนดหลักเกณฑ์บางอย่างมาให้สอดคล้องกับกฎหมายของรัฐที่บังคับใช้อยู่ในขณะนั้น
                       ในขณะเดียวกันก็เป็นน าเอากฎหมายของรัฐที่บังคับใช้อยู่สร้างเป็นกฎเกณฑ์เฉพาะเพื่อก ากับและ

                                                         9
                       ควบคุมการด าเนินธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬา  เช่น กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายแรงงาน และ
                       กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค เป็นต้น

                               การด ารงอยู่ของกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและกติกาในแวดวงกีฬาระดับนานาชาติหรือวงการ

                       กีฬาระดับประเทศ ล้วนแล้วแต่สร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจให้กับภาคธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬา ผ่าน
                       การด าเนินงานขององค์กรก ากับกีฬา (หรือ SGBs) เพื่อให้กิจกรรมการแข่งขันกีฬาหรือกิจการกีฬาใน

                       แต่ละชนิดกีฬาด าเนินไปด้วยความเป็นบริสุทธิ์ยุติธรรม (Fair Play) กฎ ระเบียบ ข้อบังคับและกติกา

                       ในแวดวงกีฬาระดับนานาชาติหรือวงการกีฬาระดับประเทศยังอาจใช้เป็นเครื่องมือส าคัญในการจัด
                       ระเบียบให้องค์กรก ากับกีฬา ซึ่งครอบคลุมถึง หน่วยงานของรัฐด้านก ากับกิจการกีฬา (Sports

                       Authorities) ผู้จัดการแข่งขันกีฬาระบบลีก (League Organisers) สมาคมกีฬา (Sports

                       Associations) และสโมสรกีฬา (Sports Clubs) ให้สามารถอยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข มีความรู้รัก
                       สามัคคีและตระหนักถึงความมีน ้าใจนักกีฬา อีกทั้งยังเป็นส่วนเสริมความเข้มแข็งให้กับการพัฒนา

                       ศักยภาพนักกีฬาอาชีพ (Professional Sports Players) มีโอกาศพัฒนาตนสู่ความเป็นเลิศในการ

                       ประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ในขณะเดียวการวางระบบและกลไกก ากับธรรมาภิบาลกีฬา
                       (Sports Governance) ขององค์กรก ากับกีฬาอาชีพ (SGBs) ย่อมท าให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในวงการ

                       กีฬาภายในประเทศมีโอกาสที่จะเผชิญกับความยุติธรรม ความโปร่งใสและการเปิดโอกาสให้เข้ามามี

                       ส่วนร่วม อันเป็นปัจจัยส าคัญที่เกื้อหนุนให้ส่งเสริมพัฒนากีฬาอาชีพ (Sports Professional)
                       สอดคล้องกับความการยกระดับการก ากับธรรมาภิบาลกีฬาให้ได้มาตรฐานสู่สากล


                               อนึ่ง หน่วยงานของรัฐที่ก ากับกิจการกีฬาของประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นการกีฬาแห่ง
                       ประเทศไทย (Sports Authority of Thailand หรือ SAT) อันเป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัด

                       กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และกรมพลศึกษา (Department of Physical Education หรือ

                       DPE) อันเป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาได้มีความพยายามพัฒนา
                       กิจการกีฬาในภายในประเทศไทยและผลักดันให้การแข่งขันกีฬาในระดับต่าง ๆ ที่จัดขึ้นในประเทศ

                       ไทยให้มีความเป็นอาชีพ (Professionalism) มากยิ่งขึ้น ผ่านความพยายามในการก าหนดกฎ ระเบียบ

                       ข้อบังคับและกติกาในแวดวงกีฬาสอดคล้องกับมาตรฐานด้านกีฬาอาชีพระดับนานาชาติและพัฒนา
                       มาตรฐานด้านกีฬาอาชีพเฉพาะให้สอดคล้องกับปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมกีฬาไทย เช่น พระราชบัญญัติ

                       กีฬามวย พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติควบคุมการใช้สารต้องห้ามทางการกีฬา พ.ศ. 2555 และ

                       พระราชบัญญัติส่งเสริมกีฬาอาชีพ พ.ศ.2556 อีกทั้งองค์กรก ากับกีฬาระดับชาติ (ในแต่ละชนิดกีฬา)



                       9  András Gurovits, The Sports Law Review, (London: Law Business Research Ltd, 2015), 201-215.
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15