Page 24 - kpib28626
P. 24
ตลอดจน อปท. รู้จักท�างานแบบประสานพลังจนเกิดความร่วมมือและประสานงาน
เพื่อให้กิจกรรม/โครงการของ อปท. เกิดประสิทธิภาพ วิธีการเสริมสร้างเครือข่าย ประกอบ
ด้วยหลายวิธีการ เช่น การติดต่อสื่อสาร การประสานงานสม�่าเสมอ การแลกเปลี่ยนข้อมูล
หรือประสบการณ์เพื่อเรียนรู้ร่วมกัน การวางแผนและด�าเนินกิจกรรมร่วมกัน การแบ่งปัน
ทรัพยากร เป็นอาทิ ซึ่งสามารถ แบ่งออกเป็น 2 ประเด็น คือ ประเด็นที่ 1 การจัดการองค์กร
เพื่อการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ให้ความส�าคัญและการเตรียมความ
พร้อมทั้งในด้านบุคลากรงบประมาณ กลไกการด�าเนินงาน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในการรองรับภารกิจในการส่งเสริมให้เกิดเครือข่าย ความร่วมมือในการด�าเนินงาน อปท.มี
ความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือแบบเป็นทางการในลักษณะบันทึกข้อตกลง
ร่วม (MOU) กับส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น ภาคประชาสังคม หรือองค์กร
ภาคเอกชน อปท. มีความร่วมมือกับองค์กรในต่างประเทศ อาทิ การท�าโครงการ/กิจกรรม
ร่วมกัน หรือร่วมเป็นสมาชิกสมาคม ชมรม หรือการมีความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นในต่างประเทศ (เช่น ความร่วมมือลักษณะบ้านพี่เมืองน้อง) หรือความร่วมมือในรูป
แบบอื่น ๆ ประเด็นที่ 2 การส่งเสริมศักยภาพและความเข้มแข็งของประชาชน เป็นการพิจารณา
ประเมินกิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของประชาชน ทั้งในรูปแบบการ
ส่งเสริมการเรียนรู้โดยทั่วไปการเสริมสร้างความสามารถเฉพาะทาง การปลูกฝังจิตส�านึก
สาธารณะ ค่านิยมอื่น ๆ และที่ส�าคัญการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี: โอกาส และความท้าทายของท้องถิ่นไทย
ด้วยเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือส�าคัญของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในยุคไทยแลนด์ 4.0
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสารให้เกิดประโยชน์ในการสร้างการสื่อสาร
ที่รวดเร็ว องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องเน้นการสื่อสารที่รวดเร็ว เพื่อให้เกิดการรับรู้ ความ
เข้าใจ และการร่วมมือในการพัฒนาร่วมกัน นวัตกรรมของการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของ
องค์กรปกครองท้องถิ่นเพื่อการสื่อสารที่รวดเร็ว เช่น การใช้สื่อสังคมออนไลน์ขององค์กร
หน้า 23