Page 3 - kpi23788
P. 3
มิติความขัดแย้งทางการเมือง เป็นควำมขัดแย้งที่เกิดขึ้นตั้งแต่ควำมไม่ลงรอยกัน ไปจนกระทั่งถึงกำรสูญเสีย
ทรัพย์สิน และสูญเสียชีวิต โดยควำมขัดแย้งนั้นเกิดมำจำกสำเหตุควำมขัดแย้งทำงกำรเมืองซึ่งอำจจะเป็นกำรไม่
เห็นด้วยด้วยควำมคิดต่ำงทำงกำรเมือง กำรแบ่งขั้วทำงกำรเมือง และสำเหตุควำมขัดแย้งที่ปรำกฏอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้องทำงกำรเมือง ตัวอย่ำงควำมขัดแย้งทำงกำรเมืองในไทยมีหลำยระดับ เช่น กำรแสดงออกผ่ำนกำร
ถกเถียงในระบบรัฐสภำตำมครรลองประชำธิปไตย กำรไม่ลงรอยกันระหว่ำงกลุ่มกำรเมืองต่ำง ๆ
นอกรัฐสภำ จนน ำไปสู่กำรชุมนุมทำงกำรเมือง และลุกลำมเป็นกำรก่อควำมไม่สงบ กำรใช้มำตรกำรปรำบปรำม
โดยรัฐ และควำมรุนแรงทำงกำรเมือง มิติความขัดแย้งทางเศรษฐกิจ เป็นควำมขัดแย้งที่เกิดขึ้นเป็นควำมเหลื่อม
ล้ ำทำงเศรษฐกิจในระดับชุมชุน ระดับภูมิภำคไปจนถึงระดับประเทศ ซึ่งควำมขัดแย้งรุนแรงนั้นก่อเกิด
ควำมเดือดร้อนทำงเศรษฐกิจ กำรสูญเสียทรัพย์สิน และสูญเสียชีวิต โดยควำมขัดแย้งนั้นเกิดมำจำกสำเหตุควำม
ขัดแย้งทำงเศรษฐกิจเป็นหลัก ตัวอย่ำงควำมขัดแย้งทำงเศรษฐกิจในไทยมีหลำยระดับ เช่น ประชำชนประท้วง
จำกควำมเดือดร้อนประเด็นเศรษฐกิจ เช่น ชำวบ้ำนประท้วงเรื่องรำคำยำง รำคำอ้อย รำคำปำล์ม
เป็นต้น มิติความขัดแย้งทางสิ่งแวดล้อมและทรัพยำกรธรรมชำติ เป็น ควำมขัดแย้งที่เกิดขึ้นจำกสำเหตุควำม
ขัดแย้งด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติเป็นหลัก โดยเฉพำะสำเหตุควำมเหลื่อมล้ ำด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติ และสำเหตุ
ควำมขัดแย้งที่เกิดจำกภัยพิบัติทำงธรรมชำติ เช่น ภัยพิบัติน้ ำท่วม ภัยพิบัติวำตภัย เป็นต้น เนื่องจำกสำเหตุ
ควำมขัดแย้งที่กล่ำวข้ำงต้น ท ำให้เกิดควำมไม่เข้ำใจกันระหว่ำงผู้มีส่วนได้เสีย เกิดกำรสูญเสียทรัพย์สิน และ
สูญเสียชีวิต โดยควำมขัดแย้งนั้น ๆ เกิดมำจำกสำเหตุควำมขัดแย้งทำงทรัพยำกรธรรมชำติเป็นส ำคัญ ตัวอย่ำงมิติ
ควำมขัดแย้งทำงทรัพยำกรธรรมชำติที่เกิดในประเทศไทยได้แก่ ประเด็น กำรประท้วงกรณีเขื่อนแม่วงก์
กำรประท้วงเรื่องโรงไฟฟ้ำถ่ำนหิน กรณีเมืองอุตสำหกรรมใหม่จะนะ และมิติความขัดแย้งด้านชาติพันธุ์ ภาษา
ศาสนาและวัฒนธรรม ควำมขัดแย้งที่เกิดขึ้นจำกสำเหตุควำมขัดแย้งด้ำนชำติพันธุ์ ศำสนำและวัฒนธรรมเป็นหลัก
ซึ่งควำมขัดแย้งในมิตินี้จะเป็นควำมขัดแย้งที่กระทบกับเรื่อง “อัตลักษณ์” เป็นส ำคัญเนื่องจำกกำรละเมิดสิทธิ
ทำงวัฒนธรรม มีกำรเลือกปฏิบัติ เกิดควำมไม่เป็นธรรม สร้ำงควำมแค้นเคืองให้คนในพื้นที่ กระทั่งคนที่ด ำรง
อัตลักษณ์ของตนต้องกำรเสรีภำพ อิสรภำพ เพื่อจะได้สำมำรถคงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ของตนไว้ เป็นต้น
โดยโครงกำรวิจัยเชิงส ำรวจแผนที่ข้อมูลประเด็นควำมขัดแย้งในประเทศไทย:กรณีมิติสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยำกรธรรมชำติ ระยะที่ 5 นี้ เน้นไปที่ประเด็นปัญหำด้ำนสิ่งแวดล้อม เป็นส ำคัญ โดยเฉพำะประเด็นปัญหำที่
เกี่ยวกับทรัพยำกรธรรมชำติ ด้ำนทรัพยำกรที่ดิน /ทรัพยำกรป่ำไม้ /ทรัพยำกรน้ ำ ทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง
และปัญหำด้ำนสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเป้ำไปที่ 2 ภูมิภำคเท่ำนั้น คือ ภำคกลำงและภำคเหนือเท่ำนั้น โดยเฉพำะใน
ภำคเหนือเน้นเรื่องวิกฤตฝุ่น PM 2.5 ที่ จังหวัดเชียงรำยและเชียงใหม่ซึ่งในภำคกลำงท ำกรณีศึกษำเรื่อง EEC ที่มี
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในพื้นที่จังหวัดชลบุรี
โจทย์ส ำคัญที่ต้องกำรค ำตอบของงำนวิจัยระยะที่ 5 นี้ คือ กำรศึกษำเฉพำะควำมขัดแย้งในมิติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยำกรธรรมชำติ ที่เกิดจำกหรือมีผลมำกำรด ำเนินโครงกำรพัฒนำต่ำง ๆ ตำมแนวนโยบำยของ