Page 2 - kpi23788
P. 2

บทคัดย่อ


                              กำรจัดท ำวิจัยแผนที่ควำมขัดแย้ง (Conflict Mapping) เปรียบเสมือนเครื่องมือพื้นฐำนที่ใช้ใน
                 กำรวำงแผนกำรแก้ไขควำมขัดแย้ง ด้วยกำรสร้ำงแผนภำพง่ำยๆ แล้วระบุประเด็นกำรขัดแย้ง กำรแจกแจง

                 คู่ขัดแย้ง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสถำนกำรณ์ควำมขัดแย้ง

                 และกำรประเมินทำงเลือกต่ำง ๆ ในกำรแก้ไข เพื่อให้ทุกฝ่ำยเห็นภำพรวมของสถำนกำรณ์ตรงกัน ซึ่งจะเป็น
                 ประโยชน์ต่อกำรสื่อสำรเพื่อหำทำงออกร่วมกันในกำรด ำเนินงำนต่อไปในอนำคต และเมื่อกล่ำวถึงค ำว่ำ

                 “กำรพัฒนำ” จำกกำรด ำเนินโครงกำรตำมแนวนโยบำยของรัฐ หลำยคนก็อำจนึกถึงควำมหมำยในแง่บวก

                 ซึ่งมำจำกจินตนำกำรเชิงบวกถึงคุณภำพชีวิตเศรษฐกิจ และสังคมที่ดีขึ้น แต่จำกสถิติ และข้อมูลจ ำนวนมำกก็ไม่
                 สำมำรถปฏิเสธได้อย่ำงสิ้น เชิงว่ำ อีกด้ำนหนึ่งของ “กำรพัฒนำ” ก็น ำมำซึ่ง “ควำมไม่เท่ำเทียม” และก่อให้เกิด

                 “ควำมขัดแย้ง” ในท้ำยที่สุด ซึ่งปัญหำควำมขัดแย้งระหว่ำงชำวบ้ำนกับอ ำนำจรัฐนั้น ขณะนี้เกิดขึ้น  โดยทั่วไป

                 แทบทุกเรื่องที่กระจำยอยู่บนแผ่นดินไทย ดังจะเห็นได้ผลกระทบ และปัญหำควำมขัดแย้งจำกกำรด ำเนินโครงกำร
                 ตำมแนวนโยบำยของรัฐ ในหลำยโครงกำร ในต่ำงยุค ต่ำงสมัย และหลำกหลำยในกรณีและประเด็นปัญหำ อำทิ

                 เช่น โครงกำรก่อสร้ำงเขื่อนปำกมูล โครงกำรก่อสร้ำงโรงไฟฟ้ำบ่อนอก-หินกรูด โครงกำรก่อสร้ำงท่อก๊ำซและโรง

                 แยกก๊ำซไทย-มำเลเซีย และประเด็นกำรสร้ำงโรงไฟฟ้ำที่เทพำ จังหวัดสงขลำ ตลอดจนควำมขัดแย้งเรื่องที่ดิน
                 ระหว่ำงชำวบ้ำนกับรัฐในหลำยพื้นที่ หลำยกรณี เป็นต้นข้อมูลเชิงประจักษ์ที่แสดงให้เห็นควำมเป็นจริงอีกด้ำน

                 หนึ่ง คือ กว่ำ 40 ปีทีผ่ำนมำประเทศไทยใช้แนวทำงกำรพัฒนำที่มุ่งสร้ำงควำมเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจเน้น

                 อุตสำหกรรมและกำรส่งออก คู่ไปกับแนวคิดควำมทันสมัย (Modernization) และโลกำภิวัตน์ (Globalization)
                 ซึ่งอยู่ภำยใต้กรอบของทุนนิยม ประชำธิปไตย แบบตะวันตก ท ำให้ ประเทศไทยมีลักษณะ "ทันสมัยแต่ไม่พัฒนำ

                 (Modernization without development)" ส่งผลให้ระบบเกิดควำมอ่อนแอและขำดพลังที่จะพัฒนำให้มีควำม

                 เจริญก้ำวหน้ำอย่ำงยั่งยืน
                        สถำบันพระปกเกล้ำให้นิยำม “แผนที่ควำมขัดแย้ง” (Conflict Map) ว่ำ เปรียบเสมือน เครื่องมือ

                 พื้นฐำนที่ใช้ในกำรวำงแผนกำรแก้ไขควำมขัดแย้ง ด้วยกำรสร้ำงแผนภำพง่ำยๆ แล้วระบุประเด็นกำรขัดแย้ง กำร
                 แจกแจงคู่ขัดแย้ง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสถำนกำรณ์ควำมขัดแย้ง และกำร

                 ประเมินทำงเลือกต่ำง ๆ ในกำรแก้ไข เพื่อให้ทุกฝ่ำยเห็นภำพรวมของสถำนกำรณ์ตรงกัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อ

                 กำรสื่อสำรเพื่อหำทำงออกร่วมกันในกำด ำเนินงำนต่อไปในอนำคต (สถำบันพระปกเกล้ำ, 2019) และเมื่อกล่ำวถึง
                 ประเด็นควำมขัดแย้งจำกกำรด ำเนินโครงกำรตำมแนวนโยบำยของรัฐ หมำยถึง นโยบำยหรือโครงกำรที่ก่อให้เกิด

                 ควำมขัดแย้งเนื่องมำจำก “กำรพัฒนำ” จำกกำรด ำเนินโครงกำรตำมแนวนโยบำยของรัฐ โดยโครงกำรวิจัยนี้ยังคง

                 ยึดแนวคิดดังกล่ำวและพัฒนำเพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะที่เหมำะสมส ำหรับสถำบันพระปกเกล้ำต่อไป
                        ในระยะของงำนวิจัยนี้ ที่ 1, 2 , 3 และ4   นั้นเน้นกำรส ำรวจและจัดเก็บข้อมูลเพื่อเป็นมำตรฐำนของแต่

                 ละปี โดยมี Platform ในกำรเก็บข้อมูลตำม มิติควำมขัดแย้ง (Conflict Dimension) ต่ำง ๆ ต่อไปนี้
   1   2   3   4   5   6   7