Page 8 - 23154_Fulltext
P. 8

3


                   2.  รูปแบบของระบบรัฐสภาที่เหมาะสมส าหรับประเทศไทย ควรเป็นอย่างไร

               แนวคิดและทฤษฎี


                       1.  แนวคิดเรื่องการปกครองในระบบรัฐสภา (Parliamentarism)
                       2.  แนวคิดเรื่องอ านาจสูงสุดเป็นของรัฐสภา (Parliamentary sovereignty)


               วิธีด าเนินการวิจัย

                       งานวิจัยนี้ ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative method) โดยเน้นรวบรวมข้อมูลจากเอกสารเป็นหลัก

               ได้แก่ งานศึกษาวิจัยเรื่องระบบรัฐสภาทั้งในต่างประเทศและประเทศไทย, รัฐธรรมนูญ, รายงานการประชุมสภา
               ร่างรัฐธรรมนูญ, รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อออนไลน์ต่างๆ จากนั้น
               จึงประมวลข้อค้นพบต่างๆ และสังเคราะห์และน าเสนอต่อไป


               วัตถุประสงค์การวิจัย


                       1.  เพื่อศึกษาระบบรัฐสภาในเชิงเปรียบเทียบทั้งในด้านโครงสร้าง พัฒนาการ หลักการและข้อถกเถียง
                       2.  เพื่อศึกษาพัฒนาการของระบบรัฐสภาในประเทศไทย ทั้งในมิติโครงสร้าง หลักการ และข้อถกเถียง
                          นับตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ถึงปัจจุบัน

                       3.  เพื่อน าเสนอรูปแบบของระบบรัฐสภาที่เหมาะสมส าหรับประเทศไทย

               แผนการด าเนินงานวิจัย


                       งานวิจัยนี้มีระยะเวลาด าเนินการ 1 ปี นับตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565 ทั้งนี้ งานวิจัยนี้มี
               การวางแผนการด าเนินงานและยื่นขอรับการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคน จากหน่วยจริยธรรมการวิจัยในคน
               สถาบันพระปกเกล้าในเดือนกันยายน พ.ศ. 2564 ก่อนหน้าที่จะเริ่มด าเนินการวิจัยในปีงบประมาณ 2565





                    กิจกรรม      ก.ย. ต.ค.  พ.ย. ธ.ค.  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.
                                 64  64  64  64  65  65  65  65  65  65  65  65  65

                  วางแผนการ       x
                     ท างาน

                   ส่งโครงร่าง    x
                 งานวิจัยเพื่อรับ

                  การตรวจ IRB
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13