Page 250 - 22825_Fulltext
P. 250

6-7







                               ประชากรในเรือนจำ (4.251) ผลกระทบจากการก่อการร้าย (3.243 คะแนน)
                       ความหวาดกลัวทางการเมือง (3.0 คะแนน) ความเข้มข้นของความขัดแย้งในประเทศ (3.0

                       คะแนน) และด้านอาชญากรรม (3.0 คะแนน) ตัวชี้วัดที่ได้คะแนนสันติภาพมากคือ การตาย

                       จากการสู้รบภายนอกประเทศ (1.0 คะแนน) ความขัดแย้งจากการสู้รบนอกประเทศ
                       (1.0 คะแนน) การส่งออกอาวุธ (1.0 คะแนน) ผู้ลี้ภัย (1.0 คะแนน)

                               จากงานของ IEP รายงาย PPI ดัชนีสันติภาพเชิงบวก สถานการณ์ด้านสันติภาพเชิงบวก

                       ในปี 2022 แม้ว่าคะแนนสันติภาพเชิงลบ (ไม่มีความรุนแรงทางกายภาพ) ประเทศไทยจะได้คะแนนไม่
                       ดี แต่คะแนนสันติภาพเชิงบวก ในปี 2022  อันดับของประเทศไทยได้อันดับ 60 ของโลก ได้คะแนน

                       รวม (2.94 คะแนน) อันดับ 1 อันดับที่ 2 และ 3 ของโลกคือสวีเดน (1.23) เดนมาร์ค (1.24)  และ

                       ฟินแลนด์ (1.26) ในส่วนของ 3 อันดับสุดท้ายของโลก คือ  เยเมน (4.54) เซาท์ซูดาน (4.55) และโซ
                       มาลาเลีย (4.59)  สันติภาพเชิงบวกไม่ได้วัดเพียงแต่เรื่องความรุนแรงทางกายภาพ แต่วัดในมิติอื่นใน

                       เชิงโครงสร้างของสังคมด้วย คะแนนแต่ละตัวชี้วัดของประเทศไทยมีดังนี้


                               1. การทำหน้าที่ของรัฐที่ดี (3.06 คะแนน) (อันดับ7)

                               2.การไม่คอร์รัปชั่น 4.05 คะแนน) ได้คะแนนสันติภาพน้อยที่สุด (อันดับ8)

                               3.การทำธุรกิจที่ดี (2.95 คะแนน ) (อันดับ5)
                               4.การกระจายทรัพยากรที่เป็นธรรมไม่เหลื่อมล้ำ (2.78คะแนน ) ได้คะแนนสันติภาพ

                       (อันดับ4)

                               5.การยอมรับในสิทธิของคนอื่น (3.04คะแนน ) (อันดับ6)
                               6.การไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร (2.67 คะแนน) (อันดับ3)

                               7.การพัฒนาทุนมนุษย์ (2.53 คะแนน) (อันดับ2)

                               8..ความสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนบ้าน (2.09 คะแนน) (อันดับ1)
                               คะแนนรวม 2.94/5



                               จากงานวิจัย TPI ที่จัดทำโดยสถาบันพระปกเกล้า ด้วยการกำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์การ
                       ให้คะแนนตัวชี้วัดให้มีความชัดเจน รัดกุมและวัดระดับได้ ผสมผสานทั้งสันติภาพเชิงลบและ

                       สันติภาพเชิงบวก โดยมีการแบ่งตัวชี้วัดออกเป็น 4 ด้านหลักกับตัวชี้วัดย่อย

                       28 ตัวชี้วัด  ข้อมูลที่นำมาใช้  มีทั้งข้อมูลทุติยภูมิจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลจากการสำรวจ
                       ทั่วประเทศ  จากผลการศึกษาพบว่า ระดับดัชนีสันติภาพของประเทศไทยสำหรับปี พ.ศ. 2564

                       ตารางที่ 6.2  มีค่าเท่ากับ 3.42 อยู่ในระดับปานกลาง ในส่วนของคะแนนดัชนีย่อยทั้ง 4 ด้าน  ด้านที่
                       มีค่าคะแนนสันติภาพต่ำเรียงจากมากไปน้อย คือ P1. ไม่มีความรุนแรงทางกายภาพ P3. การยอมรับ
   245   246   247   248   249   250   251   252   253   254   255