Page 80 - 22385_Fulltext
P. 80

การศึกษาการบังคับใช้                     การศึกษาการบังคับใช้
 พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย   พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย



 ของคำร้องทั้งหมด ในขณะที่ผู้ร้องที่เป็นเพศหญิงมีเพียง 8 เรื่องซึ่งคิดเป็น  3) หน่วยงานรัฐ หรือเอกชนตั้งเงื่อนไขเพิ่มเติมหรือดำเนินการ
 เพียงร้อยละ 13.33 และเพศชายเพียง 1 เรื่องหรือร้อยละ 1.66 เท่านั้น     ที่แตกต่างไปจากบุคคลอื่น ได้แก่ สถาบันการศึกษาให้ใช้ใบรับรองแพทย์

 ที่เหลือ คือ บุคคลหรือองค์กรผู้ร้องแทนจำนวน 7 เรื่อง และไม่ระบุเพศ  ประกอบการยื่นคำร้องขอแต่งกายชุดครุยวิทยฐานะตามเพศสภาพ,
 อีก 1 เรื่อง        สถาบันการศึกษาประเมินผลการปฏิบัติงานในระดับต่ำอันเนื่องมาจาก

                     การแต่งกายตามเพศสภาพ และเจ้าหน้าที่รัฐปฏิบัติงานไม่เหมาะสม
 ประเด็นที่มีการร้องเรียนเข้ามานอกเหนือจากกรณีสถาบัน
 การศึกษากับกฎหรือระเบียบเกี่ยวกับการแต่งกายตามเพศสภาพแล้ว   ในการเข้าตรวจค้นเคหสถาน
 สามารถแบ่งลักษณะของการกระทำออกได้เป็นกลุ่ม ดังนี้    4) หน่วยงานเอกชนปฏิเสธการให้/รับบริการ ได้แก่ ร้านอาหาร/
                     สถานบันเทิงกีดกันไม่ให้ผู้แสดงออกแตกต่างจากเพศโดยกำเนิดเข้าใช้
 1) หน่วยงานรัฐปฏิเสธการใช้สิทธิ/การรับรองสิทธิ/ออกเอกสาร  บริการ
 สิทธิให้ ซึ่งถือเป็นกลุ่มคำร้องที่มีมากที่สุด ได้แก่ สถานศึกษาไม่รับสมัคร
 กลุ่มผู้แสดงออกแตกต่างจากเพศกำเนิดเข้าศึกษา, ผู้รับผิดชอบห้ามภิกษุณี   5) แสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสม ดูหมิ่นเหยียดหยาม ได้แก่ ผู้เล่น

 เข้าพระบรมมหาราชวังเพื่อถวายความเคารพพระบรมศพรัชกาลที่ 9,   เฟซบุ๊กโพสต์ดูหมิ่นพนักงานสอบสวนหญิงทางเฟซบุ๊ก, สำนักข่าวเสนอ
 หน่วยงานรัฐไม่ออกหนังสือรับรองการต่อวีซ่าให้ภิกษุณีชาวต่างประเทศ,   ข่าวดูหมิ่นผู้แสดงออกแตกต่างจากเพศกำเนิด, แบบเรียนสุขศึกษาระดับ
 หน่วยงานของรัฐไม่ออกบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยใช้รูปถ่ายตาม  มัธยมเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มผู้มีเพศสภาพแตกต่างจากเพศกำเนิด และ

 เพศสภาพ, หน่วยงานของรัฐไม่รับคำร้องขอจดทะเบียนสมรส (แบบ คร.1)   ผู้บังคับบัญชาในหน่วยงานรัฐมีวาจาดูหมิ่นและการกระทำที่เป็นการเลือก
 ของคู่รักเพศเดียวกัน, หน่วยงานภาครัฐไม่ให้ใช้คำนำหน้านาม    ปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ
 ในบัตรประจำตัวประชาชนตรงกับเพศสภาพ, หน่วยงานรัฐปฏิเสธการรับ  8. ปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้

 บริจาคโลหิต, หน่วยงานรัฐปฏิเสธการยื่นความประสงค์ขอออก
 หนังสือเดินทางและวีซ่า และหน่วยงานรัฐจำกัดสิทธิการใช้รูปถ่ายตาม  จากการศึกษาข้อมูลเชิงประจักษ์ ประกอบกับการสัมภาษณ์
 เพศสภาพในใบประกอบวิชาชีพครู และบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่รัฐ   ความคิดเห็นของกลุ่มบุคคลต่าง ๆ สามารถสรุปปัญหาและอุปสรรค
                     ในการบังคับใช้กฎหมาย โดยจำแนกตามกลไกที่กฎหมายสร้างขึ้น ดังนี้
 2) หน่วยงานรัฐ หรือเอกชนไม่รับเข้าทำงาน/ไม่รับเข้าเรียน/
 เลิกจ้าง ได้แก่ หน่วยงาน/สถานประกอบการเลิกจ้างแรงงานไม่เป็นธรรม,     8.1  คณะกรรมการส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ
 หน่วยงานภาครัฐ/สถานประกอบการกีดกัน/ไม่รับสมัครเข้าทำงาน และ   (สทพ.)
 สถาบันการศึกษาปฏิเสธไม่รับเข้าทำงาน     แม้ตามกฎหมายแล้วคณะกรรมการ สทพ. นับเป็นกลไก

                     ที่กฎหมายเขียนให้อำนาจหน้าที่ไว้ค่อนข้างมาก อีกทั้งมีความสำคัญต่อ


     สถาบันพระปกเกล้า                                             สถาบันพระปกเกล้า   65
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85