Page 36 - 4 EDIT โรงเรียนสร้างคน พลเมืองสร้างชาติ The Series เล่ม 1 (2559).indd
P. 36
...ความกลัวที่หายไป สู่ความกล้าเข้ามาแทนที่...
หลายคนคงจะเป็นเหมือนกันในเรื่องของความกลัว แต่ไม่ใช่ทุกคนที่จะกลัว
การกล้าแสดงออก ซึ่งความกลัวนี้จะไม่เกิดขึ้นกับผู้หญิงเก่งที่มีนามว่า นางสีลา สุขสะอาด
อีกต่อไป เมื่อตนเองเปลี่ยน เราต้องคิดแบบก้าวกระโดดในชุมชนเปลี่ยนด้วย นี้เป็น
ความคิด “พลเมือง” การพัฒนาชุมชนเป็นหน้าที่ของคนในชุมชนไม่ใช่หน้าที่ของหน่วยงาน
ภาครัฐ การเปลี่ยนแปลงวิถีการใช้ชีวิตสู่ โคก หนอง นา โมเดล เป็นสิ่งที่ท้าทาย
และอยากเรียนรู้ในล�าดับต่อมาทันที
…จากส่วนหนึ่ง กลายเป็นส่วนรวม…
การเข้ามาเรียนรู้โคก หนอง นา โมเดล ไม่ได้หวังเพียงว่าให้คุณภาพชีวิต
ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น แต่หวังที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการเปลี่ยนแปลงชุมชน สังคม ประชาชน
ร้อยเอ็ด ให้เป็นพลเมืองร้อยเอ็ดอย่างเต็มตัว
“เราจะท�าอย่างไรให้พี่น้องเรามีคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น???...
เราจะท�าอย่างไรให้ชาวร้อยเอ็ดรู้จักการพึ่งพาตนเองให้ได้มากที่สุด???...”
นี้เป็นค�าถามที่อยากจะหาค�าตอบต่อไป ในฐานะพลเมืองร้อยเอ็ด
นางสีลา สุขสะอาด
นักเรียนโรงเรียนพลเมืองธวัชบุรี
…พลเมืองสร้ำงชำติ…
…เรียนอย่างไรมีความสุข???...
เพราะโรงเรียนพลเมืองเป็นมากกว่าโรงเรียนที่เข้ามาเรียน ๆ ตามหน้าที่ แล้ว
จบไปโดยเปล่าประโยชน์ ซึ่งเนื้อหาลักสูตรล้วนแต่เป็นสิ่งที่คนไทยขาดหาย และก�าลัง
ถามหา ความพิเศษของโรงเรียนพลเมืองอีกประการคือ “ฟรี” ตลอดการศึกษา แถมมี
วิชาไหนอยากเรียนก็สามารถขอเรียนได้ (แบบนี้จะไม่เข้ามาเรียนก็คงไม่ได้แล้ว) ตลอด
การเรียนโรงเรียนแห่งนี้เต็มไปด้วยหลักการพึ่งพาตนเอง ตามปรัชญาการใช้ชีวิต
ที่ตั้งไว้ตั้งแต่ต้น ได้ท�าในสิ่งที่แปลกใหม่ ได้แลกเปลี่ยนสิ่งที่ตนมีกับผู้อื่น และรับเอาสิ่งที่
ตนขาดมาปรับใช้ การด�าเนินกิจกรรมตามหลักสูตรที่ให้ผู้เรียนเป็นคนคิดเองยิ่งท�าให้เกิด
การวางแผนการท�างานร่วมกันกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน ดั่งค�าที่ว่า “คนเหมือนกัน จะดึง
เข้าหากัน” อันนี้เป็นเรื่องจริงเพราะกิจกรรมที่โรงเรียนพลเมืองธวัชบุรีร่วมกันคิดและ
พัฒนาเป็นนโยบายสาธารณะนั้นก็คือ “โครงการหลุมรางพอเพียง” เป็นการดึงกลุ่มคน
I
24 “โรงเรียนสร้างคน……พลเมืองสร้างชาติ” เล่ม 1 2559