Page 21 - kpi22173
P. 21
“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”
1.3.3 เพื่อเสนอแนวทางในการเสริมสรางการมีสวนรวมของสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจํา
หมูบานเพื่อปองกัน เฝาระวัง และควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019
ในจังหวัดเชียงใหม
1.4 ขอบเขตในการศึกษา
1.4.1 ขอบเขตดานเนื้อหา งานวิจัยนี้มุงเนนศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศทางดานสุขภาพ บทบาท
และแนวทางในการเสริมสรางการมีสวนรวมของสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานเพื่อปองกัน
เฝาระวังและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม
1.4.2 ขอบเขตดานประชากร ศึกษาครอบคลุมเฉพาะสตรีอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน
(อสม.) จํานวน 646 คน ในพื้นที่ตําบลสุเทพ ตําบลแมเหียะ ตําบลฟาฮาม และตําบลทาศาลา อําเภอเมือง
เชียงใหม จังหวัดเชียงใหม
1.4.3 ขอบเขตดานพื้นที่ พื้นที่ที่ศึกษาคือ อําเภอเมืองเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม โดยศึกษา
เฉพาะตําบลสุเทพ ตําบลแมเหียะ ตําบลทาศาลาและตําบลฟาฮาม อําเภอเมืองเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม
1.5 คําจํากัดความ
1.5.1 พฤติกรรมสารสนเทศ หมายถึง การแสดงออกถึงความตองการสารสนเทศ การแสวงหา
สารสนเทศและการใชสารสนเทศทางดานสุขภาพของสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการ
ใหความรูแกชุมชนเพื่อปองกัน เฝาระวังและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ
ใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม
1.5.2 อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน หมายถึง สตรีอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน
ที่มีบทบาทและหนาที่ในชุมชนทองถิ่นที่อยูอาศัย ในตําบลสุเทพ ตําบลศรีภูมิ ตําบลทาศาลา ตําบลฟาฮาม
อําเภอเมืองเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม
1.5.3 สตรีถิ่น หมายถึง สตรี (ผูหญิง) อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานที่อยูอาศัยเปนหลัก
แหลงในพื้นที่ที่ศึกษาในชุมชนทองถิ่นนั้นๆ โดยกําเนิดหรือจากการยายถิ่นฐานอยูอาศัยในชุมชนมาแลว
ในชวงเวลาหนึ่งและมีความผูกพันมีความสํานึกรูสึกวาตนเองเปนคนในพื้นที่
1.5.4 บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน หมายถึง บทบาทในการเสริมสราง
การมีสวนรวมในมิติการใหความรูทางดานสุขภาพในการปองกัน เฝาระวังและควบคุมการแพรระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019
20