Page 19 - kpi22173
P. 19

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  โดยที่ความตองการใชสารสนเทศของแตละบุคคลยอมแตกตางกันไปตามสภาพแวดลอมและบริบท

                  สวนบุคคล  สวนการแสวงหาสารสนเทศเปนไปตามหลักการใชความพยายามใหนอยที่สุดคือ เมื่อบุคคล

                  ตองการสารสนเทศทําใหเกิดการแสวงหาสารสนเทศ โดยเลือกแหลงสารสนเทศใกลๆ ตัว หาแบบงายๆ

                  สะดวกสบาย (Borgman, 2000; Mann, 1993)  สวนการใชสารสนเทศเปนกิจกรรมทายสุดที่เกี่ยวของกับ

                  พฤติกรรมสารสนเทศ เพื่อนําสารสนเทศนั้นไปใชแกไขปญหา คลายความวิตกกังวล คลายความสงสัยหรือ

                  เพื่อนําไปประกอบการตัดสินใจ  ทั้งนี้ขอเสนอของ Wilson (2000) เชื่อวาความตองการของแตละบุคคล
                  นําไปสูพฤติกรรมสารสนเทศที่แตกตางกัน  สวน Davenport (1997) ไดใหทัศนะไววา พฤติกรรม

                  สารสนเทศเปนวิธีการของบุคคลในการเขาถึงสารสนเทศและใชสารสนเทศนั้นๆ  โดยที่ Leckie, Pettigrew

                  & Sylvain (1996) มีมุมมองตอพฤติกรรมสารสนเทศไววา บุคคลมีความตองการสารสนเทศแตกตางกัน

                  ตามภาระงานและอาชีพและเมื่อตระหนักวาตองการสารสนเทศใดทําใหเกิดพฤติกรรมการแสวงหา

                  สารสนเทศ

                         ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมสารสนเทศจึงเปนเรื่องที่มีความสําคัญ เพื่อชวยใหแตละบุคคล

                  สามารถเขาถึง รูเทาทัน รับรูขอมูลขาวสาร สารสนเทศและความรูขั้นพื้นฐานที่มีความจําเปนตอการดําเนิน

                  ชีวิต ซึ่งเปนหนาที่ของรัฐบาลที่จะตองทําความเขาใจเกี่ยวกับพฤติกรรมสารสนเทศ เพื่อนําความรูความ

                  เขาใจเหลานั้นไปกําหนดเปนนโยบายของรัฐ  ดังนั้นองคกรภาครัฐหรือหนวยงานที่เกี่ยวของจึงควรนํา

                  พฤติกรรมสารสนเทศไปใชในการวางแผนเพื่อการจัดการสารสนเทศและความรูใหครอบคลุมตามสิทธิขั้น
                  พื้นฐานที่บุคคลพึงมี ซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานเปนบุคคลที่มีความคุนเคยใกลชิดกับวิถี

                  ดําเนินชีวิตของผูคนในชุมชนถิ่นนั้นๆ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีพฤติกรรมสารสนเทศทางดานสุขภาพ

                  ที่เหมาะสมในการไดมาซึ่งความรูทางดานสุขภาพ เพื่อนําความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอุบัติใหมของไวรัส

                  สายพันธุใหมในการใหคําแนะนําความรูขั้นพื้นฐานแกประชาชนในชุมชนในการปองกัน เฝาระวังและ

                  ควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสสายพันธุใหมได โดยผูมีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับการนํา

                  มาตรการสูการปฏิบัติ นอกจากบุคลากรทางการแพทยแลว ยังมีองคกรปกครองสวนทองถิ่นซึ่งเขามา
                  มีบทบาทสําคัญในการคัดกรองและบังคับใชมาตรการตามนโยบายภาครัฐที่กําหนดไว  โดยเฉพาะอยางยิ่ง

                  ในระดับชุมชนทองถิ่น อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานมีความใกลชิดกับประชาชนในระดับชุมชน

                  มากที่สุด เพื่อดําเนินการตามมาตรการปองกันนี้โดยเฉพาะ ซึ่งถือวาเปนกลไกในการขับเคลื่อนที่สําคัญดาน

                  การดูแลสุขภาพของชุมชนโดยชุมชนอยางตอเนื่องมานานแลว โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน

                  หรือ อสม. ถือวาเปนดานหนาในระดับชุมชนทองถิ่นในการสกัดกั้นการแพรระบาดของโรค COVID-19

                  ไดอยางรัดกุม







                                                            18
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24