Page 16 - kpi22173
P. 16

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”





                                                           บทที่ 1

                                                           บทนํา



                  1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา


                         ประชากรสตรีทั่วโลกมีมากกวาครึ่งของประชากรโลก อยางไรก็ตาม พื้นที่ทางการเมืองและสังคม

                  ของสตรีในหลายประเทศ สตรีมักถูกมองขาม บดบังไมใหความสําคัญมากนัก ไมวาจะเปนมิติของการมีสิทธิ

                  มีเสียงในการเลือกผูแทนของตนเอง การรับตําแหนงผูนําทางการเมืองหรือตําแหนงขาราชการระดับสูง
                  ในสังคมระหวางประเทศปรากฏขอตกลงเกี่ยวกับความเทาเทียมทางเพศเปนเปาหมายที่สําคัญในเปาหมาย

                  การพัฒนาระหวางประเทศและมองวาเปนตัวขับเคลื่อนการพัฒนามนุษยอีกดวย การกําหนดสัดสวนของ

                  ผูหญิงเขาไปมีอํานาจในการตัดสินใจทางการเมืองถือวาเปนเรื่องสําคัญ มิใชเพียงเรื่องของความเทาเทียม

                  หากแตยังหมายรวมถึงการผนวกบทบาทสตรีเขาไปในวาระนโยบาย การตัดสินใจ และกระบวนการ

                  เปลี่ยนแปลงและบรรลุเปาหมายการพัฒนาอีกดวย


                         คําประกาศระหวางประเทศวาดวยสิทธิมนุษยชน (International Declaration of Human
                  Rights) สนับสนุนใหทุกคนมีสิทธิเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจและกิจกรรมสาธารณะ โดย “การประชุม

                  ระหวางประเทศ วาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ” (International Convention on

                  the Elimination of All Forms of Discrimination against Women (CEDAW)) ประกาศในปค.ศ.

                  1979 โดยสมัชชาสหประชาชาติไดระบุถึงสิทธิในการเขาไปมีสวนรวมทางการเมืองของสตรีที่ชัดเจนมากขึ้น

                  ในมาตรา 7 ระบุวา “ฝายรัฐควรวางมาตรการที่เหมาะสมเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทางการเมือง
                  และกิจกรรมสาธารณะของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งสตรีตองไดรับการปฏิบัติอยางเทาเทียมกับบุรุษ”

                  เชน สิทธิในการลงคะแนนเลือกตั้ง การเขาไปมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายสาธารณะในทุกระดับและ

                  การเขาไปมีสวนรวมในองคการ NGOs ทั้งภาคสาธารณะและภาคการเมืองดวย (ZGIZ, 2014)


                         การมีสวนรวมของสตรีในการเมืองและกิจกรรมสาธารณะในประเทศไทยมีการศึกษาไวใน
                  หลากหลายบริบทในงานเขียนของ ธัญญธร บุญอภัย พักตรวิภา โพธิ์ศรี และสมหมาย แจมกระจาง (2563)

                  ที่ศึกษาบทบาทของสตรีในการพัฒนาสังคม ผลงานเขียนของ ศิริพร ปนลม ณรงค กุลนิเทศ และสุดาวรรณ

                  สมใจ (2559) ศึกษาการมีสวนรวมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง ความไมเทาเทียมกันทางดานเพศ

                  และความกาวหนาในอาชีพที่สงผลตอประสิทธิผลของการเขาสูเสนทางการเมืองของสตรี งานเขียนของ

                  เยาวนิจ กิตติธรกุล (2547) ที่ไดวิเคราะหการมีสวนรวมในกิจกรรมการพัฒนาชุมชนของผูหญิงชาวบาน







                                                            15
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21