Page 17 - kpi22173
P. 17

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  ภาคใตในจังหวัดสงขลาและจังหวัดพัทลุง นอกจากนั้นยังมีงานเขียนของ Krisana Vaisamruat and

                  Karunluck Bahalayodhin (2008) ที่ไดศึกษาบทบาทสตรีกับการเมืองไทยที่เผยใหเห็นบทบาทที่จํากัด

                  และถูกบดบังไมไดแสดงบทบาทเทาที่ควร โดยอธิบายความลมเหลวในแรงสนับสนุนใหสตรีแสดงบทบาท

                  มากขึ้นวามาจากการที่สตรีมีแนวโนมที่จะยอมรับคานิยมทางสังคม วัฒนธรรม และรูปแบบการปฏิบัติที่

                  ตกทอดมานานและมักจะเปนผูเลนบทบาทเบื้องหลังมานฉากมากกวา เนื่องจากสตรียังขาดพลังมากพอ

                  ที่จะแกปญหาอคติทางวัฒนธรรม การเลือกปฏิบัติและความเหลื่อมล้ําทางเพศที่ยังมีปรากฏอยูในเวที
                  สาธารณะ อีกแงมุมหนึ่งของความดอยบทบาทของสตรีไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมสตรีคนเมืองที่มี

                  สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมสูง (Socio-Economic Status-SES) ที่ทําใหสถานการณความเหลื่อมล้ํา

                  ทางเพศที่ปรากฏชัดทางการเมืองของสตรียังคงแอบแฝงอยูในสังคมไทย อีกทั้งตัวของสตรีเองที่ยอมรับ

                  วัฒนธรรม มีความเชื่อ มีคานิยมและลักษณะนิสัยทั้งโดยรูตัวและไมรูตัวที่สนับสนุนโครงสรางที่กอใหเกิด

                  การบดบังบทบาทสตรีไมใหแสดงออกในพื้นที่สาธารณะมากนัก เปนตน ในขณะที่สถานการณการแพร

                  ระบาดของโรค COVID-19 ในปจจุบันไดเผยใหเห็นบทบาทสตรีในการเขาไปมีสวนรวมในภาคสาธารณะ
                  มากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งบทบาทจิตอาสาในชุมชนของตนเองในหลากหลายบทบาทอยางเชน บทบาท

                  ในการจัดหาอาหาร การจัดการครัวชุมชนสําหรับผูประสบความยากลําบากและไดรับผลกระทบจากวิกฤติ

                  การแพรระบาด รวมถึงบทบาทจิตอาสาในฐานะอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ในการ

                  ปองกันและเฝาระวังการแพรระบาดของโรค COVID-19 ในพื้นที่ชุมชนของตนเองและถือวาเปนกลไกหนึ่ง

                  ที่สําคัญในโครงสรางสาธารณสุขมูลฐาน จนไดรับการยกยองจากองคการอนามัยโลกวา อสม. เปนปจจัย
                  แหงความสําเร็จในชวงตนของการแพรระบาดระลอกแรกในชวงเดือนมีนาคมในปพ.ศ. 2563


                         จากกระแสการเสริมสรางการมีสวนรวมในทางการเมืองและการพัฒนาที่เกิดขึ้นทั่วโลก กอปรกับ

                  ปรากฏการณการแพรระบาดของโรค COVID-19 ทําใหไดเห็นบทบาทการเขามามีสวนรวมมากขึ้น

                  คณะผูวิจัยมุงใหความสําคัญไปที่พื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากการแพรระบาดในจังหวัดเชียงใหม เนื่องจากวา

                  จังหวัดเชียงใหมเปนหัวเมืองใหญสําคัญของภาคเหนือ ซึ่งเปนเมืองทองเที่ยวที่มีนักทองเที่ยวจํานวนมาก
                  5 จังหวัดแรกของประเทศ โดยเฉพาะแหลงทองเที่ยวในพื้นที่เขตอําเภอเมืองเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม

                  ซึ่งมองวาเปนพื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอการแพรระบาดของโรค COVID-19 ซึ่งถือวาเปนพื้นที่เปาหมายที่สําคัญ

                  ในการศึกษา เพราะมีความสุมเสี่ยงตอการแพรระบาดแบบเทาทวี (Super spreader) ถาหากหละหลวม

                  ละเลย ไมเฝาระวังและเอาใจใสอยางเครงครัด การศึกษาครั้งนี้มุงเปาไปที่สตรีถิ่น (Local women)

                  ในจังหวัดเชียงใหม ซึ่งหมายความถึงสตรีที่อยูอาศัยเปนหลักแหลงและอาศัยอยูในชุมชนทองถิ่นนั้นๆ

                  โดยกําเนิดหรือจากการยายถิ่นฐานและอยูอาศัยในชุมชนมาแลวในชวงเวลาหนึ่ง และมีความผูกพันและ







                                                            16
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22