Page 453 - kpi21298
P. 453

องค์ประกอบหลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์



                           ตัวชี้วัด 10 : บุคลากรของอปท.มีความผูกพันและความภักดีต่อ…  0.67           4.51
                         ตัวชี้วัด 9 : บุคลากรและผู้บริหารอปท.มีความไว้วางในระหว่างกัน  0.81         4.53
                       ตัวชี้วัด 8 : อปท.มีระบบการคัดเลือกและจัดจ้างบุคลากรที่เป็นธรรม    1.03      4.38
                            ตัวชี้วัด 7 : อปท.มีการน าความรู้ใหม่ๆ มาปรับปรุงการท างาน  0.74        4.48
                            ตัวชี้วัด 6 : อปท.มีการน าแนวความคิดใหม่ของเจ้าหน้าที่มาใช้…  0.75     4.29
                              ตัวชี้วัด 5 : อปท.มีกิจกรรมในการจัดการทรัพยากรมนุษย์  0.78           4.23
                              ตัวชี้วัด 4 : อปท.จัดท ายุทธศาสตร์การท างาน และจัดสรร…  0.72         4.33
                             ตัวชี้วัด 3 : อปท.มีการประเมินผลการปฏิบัติงานและการใช้…  0.75         4.27
                          ตัวชี้วัด 2 : บุคลากรอปท.เข้าใจเป้าหมายขององค์กร และยอมรับ…  0.67        4.32
                           ตัวชี้วัด 1 : อปท.มีการบูรณาการแนวคิดต่าง ๆ เพื่อพัฒนาการ…  0.78        4.24
                                                               0.00 0.50 1.00 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00

                                                              S.D.  Mean



                       ภาพประกอบที่ 6.21 ระดับความเหมาะสมของตัวชี้วัดในการติดตามและประเมินผลการน าหลัก
                       ธรรมาภิบาลไปปฏิบัติขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลธรรมาภิบาลในประเทศไทยใน

                       รายองค์ประกอบหลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และในรายข้อ


                                 จากตารางที่ 6.21 และภาพประกอบที่ 6.21 พบว่า ความเหมาะสมของตัวชี้วัดในการ

                       ติดตามและประเมินผลการน าหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับ
                       รางวัลธรรมาภิบาลในประเทศไทยในรายองค์ประกอบหลักการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ มีระดับความ

                       เหมาะสมในการน าไปใช้เพื่อติดตามและประเมินผลการน าหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติขององค์การ

                       ปกครองส่วนท้องถิ่นอยู่ในระดับมาก (Mean = 4.36, S.D = 0.65, ระดับความเหมาะสม = มาก) โดย
                       เมื่อพิจารณาเป็นข้อ พบว่า มีระดับความเหมาะสมในการน าไปใช้เพื่อติดตามและประเมินผลฯ อยู่ใน

                       ระดับมากที่สุด 2 ตัวชี้วัด และมีระดับความเหมาะสมในการน าไปใช้เพื่อติดตามและประเมินผลฯ อยู่

                       ในระดับมาก 8 ตัวชี้วัด โดยเรียงตามล าดับค่าเฉลี่ยระดับความเหมาะสมในการน าไปใช้จากมากไปหา
                       น้อยได้ดังนี้ ตัวชี้วัด 9 : บุคลากรและผู้บริหารอปท.มีความไว้วางในระหว่างกัน(Mean = 4.53, S.D

                       = 0.81, ระดับความเหมาะสม = มากที่สุด) ตัวชี้วัด 10 : บุคลากรของอปท.มีความผูกพันและความ

                       ภักดีต่อองค์กร (Mean = 4.51, S.D = 0.67, ระดับความเหมาะสม = มากที่สุด) ตัวชี้วัด 7 : อปท.มี
                       การน าความรู้ใหม่ๆ มาปรับปรุงการท างาน (Mean = 4.48, S.D = 074, ระดับความเหมาะสม =

                       มาก) ตัวชี้วัด 8 : อปท.มีระบบการคัดเลือกและจัดจ้างบุคลากรที่เป็นธรรม (Mean = 4.38, S.D =

                       1.03, ระดับความเหมาะสม = มาก) ตัวชี้วัด 4 : อปท.จัดท ายุทธศาสตร์การท างาน และจัดสรร
                       งบประมาณพัฒนาบุคลากร (Mean = 4.33, S.D = 0.72, ระดับความเหมาะสม = มาก) ตัวชี้วัด 2 :





                                                      โครงการวิจัยพัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ด้านธรรมาภิบาล (Phase 2)   417
   448   449   450   451   452   453   454   455   456   457   458