Page 452 - kpi21298
P. 452
เป็นข้อ พบว่า มีระดับความเหมาะสมในการน าไปใช้เพื่อติดตามและประเมินผลฯ อยู่ในระดับมาก
ที่สุดทั้ง 3 ตัวชี้วัด โดยเรียงตามล าดับค่าเฉลี่ยระดับความเหมาะสมในการน าไปใช้จากมากไปหาน้อย
ได้ดังนี้ ตัวชี้วัด 2 : อปท.ใช้งบประมาณบรรลุผลตามเป้าหมายอย่างสมเหตุสมผล (Mean = 4.56,
S.D = 0.72, ระดับความเหมาะสม = มากที่สุด) ตัวชี้วัด 1 : อปท.ก าหนดเงินเดือน ค่าจ้าง
ค่าตอบแทนที่เหมาะสม (Mean = 4.56, S.D = 0.77, ระดับความเหมาะสม = มากที่สุด) และสุดท้าย
ได้แก่ ตัวชี้วัด 3 : อปท.มีวัฒนธรรมที่เน้นการบริการ (Mean = 4.54, S.D = 0.63, ระดับความ
เหมาะสม = มากที่สุด)
ตารางที่ 6.21 ระดับความเหมาะสมของตัวชี้วัดในการติดตามและประเมินผลการน าหลัก
ธรรมาภิบาลไปปฏิบัติขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลธรรมาภิบาลใน
ประเทศไทยในรายองค์ประกอบหลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และในรายข้อ
องค์ประกอบหลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Mean S.D. การแปลผล
ตัวชี้วัด 1 : อปท.มีการบูรณาการแนวคิดต่าง ๆ เพื่อพัฒนาการ 4.24 0.78 มาก
ท างาน
ตัวชี้วัด 2 : บุคลากรอปท.เข้าใจเป้าหมายขององค์กร และยอมรับ 4.32 0.67 มาก
การพัฒนา
ตัวชี้วัด 3 : อปท.มีการประเมินผลการปฏิบัติงานและการใช้ 4.27 0.75 มาก
ทรัพยากร
ตัวชี้วัด 4 : อปท.จัดท ายุทธศาสตร์การท างาน และจัดสรร 4.33 0.72 มาก
งบประมาณพัฒนาบุคลากร
ตัวชี้วัด 5 : อปท.มีกิจกรรมในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 4.23 0.78 มาก
ตัวชี้วัด 6 : อปท.มีการน าแนวความคิดใหม่ของเจ้าหน้าที่มาใช้ 4.29 0.75 มาก
ประโยชน์ในการท างาน
ตัวชี้วัด 7 : อปท.มีการน าความรู้ใหม่ๆ มาปรับปรุงการท างาน 4.48 0.74 มาก
ตัวชี้วัด 8 : อปท.มีระบบการคัดเลือกและจัดจ้างบุคลากรที่เป็น 4.38 1.03 มาก
ธรรม
ตัวชี้วัด 9 : บุคลากรและผู้บริหารอปท.มีความไว้วางในระหว่างกัน 4.53 0.81 มากที่สุด
ตัวชี้วัด 10 : บุคลากรของอปท.มีความผูกพันและความภักดีต่อ 4.51 0.67 มากที่สุด
องค์กร
องค์ประกอบหลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 4.36 0.65 มาก
โครงการวิจัยพัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ด้านธรรมาภิบาล (Phase 2) 416