Page 428 - kpi21298
P. 428
ติดตามและประเมินผลการน าหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติขององค์กรภาครัฐอยู่ในระดับมาก (Mean =
4.24, S.D = 0.89, ระดับความเหมาะสม = มาก) โดยเมื่อพิจารณาเป็นข้อ พบว่า มีระดับความ
เหมาะสมในการน าไปใช้เพื่อติดตามและประเมินผลฯ อยู่ในระดับมากทั้ง 4 ตัวชี้วัด โดยเรียง
ตามล าดับค่าเฉลี่ยระดับความเหมาะสมในการน าไปใช้จากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ตัวชี้วัด 4 : องค์กร
ภาครัฐมีช่องทางและการเผยแพร่ข้อมูลที่ชัดเจน (Mean = 4.37, S.D = 0.84, ระดับความเหมาะสม
= มาก) ตัวชี้วัด 2 : องค์กรภาครัฐมีการจ่ายค่าตอบแทนที่มีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานและเหมาะสม
(Mean = 4.29, S.D = 1.02, ระดับความเหมาะสม = มาก) ตัวชี้วัด 1 : องค์กรภาครัฐมีระบบ
ตรวจสอบภายใน และให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมตรวจสอบ (Mean = 4.20, S.D = 0.99, ระดับความ
เหมาะสม = มาก) และสุดท้ายได้แก่ ตัวชี้วัด 3 : องค์กรภาครัฐมีวิธีการลงโทษที่ยุติธรรมและรวดเร็ว
(Mean = 4.09, S.D = 1.12, ระดับความเหมาะสม = มาก)
ตารางที่ 6.7 ระดับความเหมาะสมของตัวชี้วัดในการติดตามและประเมินผลการน าหลักธรรมาภิบาล
ไปปฏิบัติขององค์กรภาครัฐที่ได้รับรางวัลธรรมาภิบาลในประเทศไทยในราย
องค์ประกอบหลักการมีส่วนร่วม และในรายข้อ
องค์ประกอบหลักการมีส่วนร่วม Mean S.D. การแปลผล
ตัวชี้วัด 1 : องค์กรภาครัฐมีการให้ข้อมูลแก่บุคคลภายนอก 4.51 0.66 มากที่สุด
ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้
ตัวชี้วัด 2 : องค์กรภาครัฐมีการรับฟังความคิดเห็นจาก 4.49 0.82 มาก
ประชาชนภายนอกองค์กรที่หลากหลาย
ตัวชี้วัด 3 : องค์กรภาครัฐเปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ 4.29 1.07 มาก
วางแผนตัดสินใจด าเนินงาน
ตัวชี้วัด 4 : องค์กรภาครัฐมีการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ 4.26 0.95 มาก
ประชาชนในการด าเนินงานขององค์กร
องค์ประกอบหลักการมีส่วนร่วม โดยรวม 4.39 0.81 มาก
โครงการวิจัยพัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ด้านธรรมาภิบาล (Phase 2) 392