Page 247 - kpi21193
P. 247
ตารางที่ 4 วัฒนธรรมของผู้บริหารและกลุ่มผู้ปฎิบัติงานองค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว
“สมรรถนะองค์กร” กับการสร้างสรรค์นวัตกรรมท้องถิ่น
กลุ่มบริหาร กลุ่มปฏิบัติงาน ภาพรวม
กลุ่ม Functionalization
1 วัฒนธรรมองค์กรเกี่ยวกับพิธีการและมาตรฐาน (Formality) 3.57 3.63 3.60
2. วัฒนธรรมองค์กรเกี่ยวกับลำดับชั้นและการควบคุม 3.10 3.33 3.22
(Hierarchy)
3. วัฒนธรรมองค์กรเกี่ยวกับการใช้ความรู้ ประสบการณ์ และ 3.70 3.73 3.72
ความชำนาญพิเศษ (Specialty)
ค่าเฉลี่ยรวม 3.46 3.56 3.51
(Too High) (Too High) (Too High)
กลุ่ม Communalization
4.วัฒนธรรมการรักษาความสัมพันธ์ภายในองค์กร 3.17 3.23 3.20
(Cohesion)
5. วัฒนธรรมองค์กรที่มีอิสระและสร้างความสัมพันธ์ร่วมกับ 3.27 3.20 3.23
ผู้อื่น (Autonomy)
6. วัฒนธรรมองค์กรเกี่ยวกับความเป็นเจ้าของ (Autonomy) 3.83 3.70 3.77
ค่าเฉลี่ยรวม 3.42 3.38 3.40
(Too High) (Too High) (Too High)
วัฒนธรรมในการทำงานขององค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้วเป็นแบบ Overgrown
Bureaucracy โดยมีลักษณะเน้นการทำงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกันแต่ยืดหยุ่นและร่วมเป็น
เจ้าของงานในทุกระดับคือผลประโยชน์ของชุมชนเป็นหลักบนหลักธรรมาภิบาลแบบดอนแก้ว
ส่วนที่ 2 กรณีศึกษา ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ
หลักความคุ้มค่า และหลักความคิดสร้างสรรค์ ภายใต้สองสมดุลคือ สมดุลระหว่างภาวะผู้นำกับ
ภาวะผู้ตาม (คนในองค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้วและคนในชุมชน) กล่าวคือ ผู้ตามหรือผู้ใต้
บังคับบัญชาและประชาชนที่มีประสิทธิภาพจะมีคุณภาพและมีความคิดสร้างสรรค์ หากองค์กร
หรือชุมชนมีผู้ตามลักษณะนี้เป็นส่วนใหญ่ ผู้นำหรือผู้บริหารจะต้องเป็นแบบประชาธิปไตย
ต้องยอมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ตาม ให้โอกาสผู้ตามในการแสดงความสามารถ
การแสดงออกในด้านต่าง ๆ ให้สามารถทำงานได้อย่างอิสระ สอดคล้องกับความสามารถ ไม่จำกัด
ขอบเขตทางด้านความคิด สิ่งเหล่านี้จะส่งผลให้ผู้ตามหรือผู้ใต้บังคับบัญชามีการพัฒนาตนเองและ
มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น
2 สถาบันพระปกเกล้า