Page 163 - kpi21190
P. 163

163













                                            ประชาธิปไตย   ความเหลื่อมล้ำ
                                           เพิ่มคุณภาพประชาธิปไตย
                                          ด้วย ระ ว  ารสร้างพล ง




                                                                                   สมชัย จิตสุชน*








                                    ความเหลื่อมล้ำมาในสังคมไทยมีการศึกษา วิจัยมา 20-30 ปี  เมื่อนำ
                             เสนอให้ผู้มีอำนาจ มักไม่ได้รับการปฏิบัติ จึงหารากเหง้าของปัญหาที่แท้จริง
                           พบว่าไม่ใช่ สิ่งที่เรียกว่า technical solution แต่เป็นโครงสร้างอำนาจที่เป็นอยู่

                         ไม่เอื้อให้เกิดทางออกที่ดีและถูกนำไปสู่การปฏิบัติ จึงใช้กระบวนการที่อาจจะไม่ต้องไป
                       อิงกับอำนาจรัฐ ไม่ต้องไปบอกว่าช่วยแบ่งปันอำนาจ แต่เป็นกระบวนการที่ถ้าสังคมร่วม
                     กันทำแล้ว อำนาจจะเริ่มถูกกระจายขึ้นมาที่เรียกว่า empowerment ซึ่งให้ทางออกในหลาก
                   หลายแง่มุม จะนำไปสู่การตอบโจทย์ ในเรื่องของการกระจายอำนาจจะค่อย ๆ

                  มีความเท่าเทียมกันมากขึ้น จะนำไปสู่ความเท่าเทียมกันในอีกหลากมิติที่จะตามมา

                        กล่าวถึงความเหลื่อมล้ำกับประชาธิปไตย นิยามประชาธิปไตยคือ สังคมต้องมีคุณภาพ
                  เท่าเทียม บุคคลต้องมีสิทธิ ความเท่าเทียมสำคัญ เพราะเป็นส่วนที่โยงไปเรื่องความเหลื่อมล้ำ

                  คือ ไม่เท่าเทียม ความเท่าเทียมคือ ความไม่เหลื่อมล้ำ ความเท่าเทียมในกระบวนการกำหนด
                  นโยบายรัฐ เข้าไปกำหนด ไม่ใช่เข้าไปร้องขออำนาจ ตรงนี้ถ้าทำได้ เรื่องของความเท่าเทียม
                  ในมิติอื่น ๆ เช่น เศรษฐกิจ สังคม จะตามมาได้

                        ประชาธิปไตยกับความเหลื่อมล้ำ 2 เรื่องนี้มีความสัมพันธ์กันอย่างไร เรามักเชื่อว่า

                  ประชาธิปไตยที่ดี เหลื่อมล้ำน่าจะน้อย หรือความเหลื่อมล้ำน้อย ประชาธิปไตยน่าจะดี ในภาค



                    *  ดร., ผู้อำนวยการวิจัย ด้านการพัฒนาอย่างทั่วถึง สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168