Page 431 - kpi20858
P. 431
391
บรรณานุกรม
กสิกรไทย. 100 ปี ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี [สารคดี] กรุงเทพ: ธนาคารกสิกรไทย. ไม่ปรากฏปีที่สร้าง.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. ป้ายหน้าพระอุโบสถ วัดสามแก้ว จังหวัดชุมพร.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. “อนุสาวรีย์ท้างสุรนารี,” เข้าถึงเมื่อ 28 กรกฎาคม 2562, เข้าถึงได้จาก
https://thai.tourismthailand.org
กรมศิลปากร, จิตรกรรมกรุงรัตนโกสินทร์ (กรุงเทพฯ: คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี,
2525), 24.
กรมศิลปากร. ปาฐกถาเรื่องสงวนรักษาของโบราณ จดหมายเหตุเรื่องปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนศาสดา
ราม ครั้งรัชกาลที่ 3 และการซ่อมภาพผนังเรื่อง รามเกียรติ์ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
ในการสมโภชพระนครครบร้อยปี พ.ศ.2425. นครหลวงฯ:เจริญรัตน์การพิมพ์, 2516.
กรมศิลปากร. พระราชพิธีฉลองพระนครครบ 150. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์การพิมพ์, 2525.
กรมศิลปากร. “พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติศิลป์ พีระศรี อนุสรณ์.” เข้าถึงเมื่อ 2 สิงหาคม 2562. เข้าถึงได้จาก
http://www.finearts.go.th/promotion/parameters/km/iteml
ก าจร สุนพงษ์ศรี. ศิลปะสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
ขุนศารทประภาศึกษากร. ประวัติวัดสุวรรณดาราราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. พระนครศรีอยุธยา: อักษร
ศิลป์ , ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์.
คณะกรรมการโครงการเฉลิมพระเกียรติฯ ศิลปะแห่งรัชกาลที่9. ศิลปะรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 9. กรุงเทพฯ:
อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2541.
คณะกรรมการโครงการสารานุกรมไทยฉบับเยาวชน. “ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมกับชาติตะวันตก,”
เข้าถึงเมื่อ 26 มิถุนายน 2562 เข้าถึงได้จากhttp://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?
book=20&chap=2&page=t20-2-infodetail03.html
____________. จิตรกรรมในพุทธศาสนา, เข้าถึงเมื่อ 26 มิถุนายน 2562 เข้าถึงได้จาก http://saranuk
romthai.or.th/sub/book/book.php?book=20&chap=3&page=t20-3-infodetail02.html
____________. “ประติมากรรมไทย.” เข้าถึงได้จากhttp://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book
=14&chap=3&page=t14-3-infodetail02.html
คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, สมุดภาพประติมากรรมกรุงรัตนโกสินทร์.
กรุงเทพฯ: กราฟิคอาร์ต, 2525.
จักรพันธุ์ โปษยกฤษ. คิดถึงครู. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพ, 2551.
จารุพรรณ ทรัพย์ปรุง. “การศึกษาลายผ้าในงานจิตรกรรมฝาผนังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม” มหาวิทยาลัย ราชภัฏ
สวนสุนันทา, 2553.
จีระ จิตรกร. สัมภาษณ์. บุตรชายพระยาอนุศาสน์ จิตรกร. 11 กุมภาพันธ์ 2562.