Page 272 - kpi20858
P. 272
229
สี และแสง-เงา
ห้องที่ สีและแสง-เงาเพื่อสร้างความเป็นรูปทรง การวิเคราะห์
ผลงานจิตรกรรมของ สวงษ์ ทิมอุดม
น าเสนอภาพสถาปัตยกรรมที่ด้านหน้า
แสดงให้เห็นถึงการก าหนดค่าน ้าหนักของสี
ในส่วนที่เป็นแสง และส่วนที่เป็นเงา จาก
34 ความแตกต่างของค่าน ้าหนักก่อให้เกิด
ปริมาตรแก่รูปทรงอาคาร นอกจากนี้เมื่อ
ประกอบกับคุณสมบัติของเส้นเฉียง ยิ่ง
ส่งเสริมให้เกิดเป็นรูปทรง 3 มิติได้
รูปทรงภูเขาและโขดหินตามธรรมชาติที่
ปรากฏบนจิตรกรรม โดย พิน อินฟ้าแสง
49
แสดงภาพโขดหินและต้นไม้ ที่มีลักษณะ
กลมนูน ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากการลงสี
ให้ค่าน ้าหนักอ่อนแก่ของแสงและเงา
ห้องที่ สีและแสง-เงาเพื่อสร้างความเป็นรูปทรง การวิเคราะห์
จิตรกรรมที่ผนังห้องที่ 1 เขียนโดยพระเท
วาภินิมมิต ภาพตัวพระทั้งสองมีปริมาตร
แบบ 3 มิติ ซึ่งเกิดจากคุณสมบัติอ่อนแก่ของ
สี ก่อให้เกิดเป็นค่าแสงและเงา จากภาพ ที่
บริเวณใบหน้ามีการแต้มสีสว่างในบริเวณ
1 โหนกแก้ม และใช้สีเข้มเพื่อสร้างเงา
เช่นเดียวกันกับที่บริเวณล าตัว พบว่ามีการ
สร้างน ้าหนักของสี เพื่อเลียนแบบเงาที่เกิด
จากรอยยับย่นบนผิวผ้า พระเทวาภินิมมิต
สามารถถ่ายทอดรอยยับย่นดังกล่าวได้
อย่างสมจริง