Page 275 - kpi20858
P. 275

232





                        ห้องที่      สีและแสง-เงาเพื่อสร้างลักษณะผิว         วิเคราะห์การใช้สีและแสง-เงา

                                                                        ตอนกุมภกรรณท าพิธีลับหอกโมกขศักดิ์ หนุ
                                                                        มานกับองคต แปลงเป็นสุนัขเน่ากับอีกา ไป

                                                                        ท าลายพิธี เขียนโดย สว่าง ปัญญางาม ที่ผิว
                                                                        น ้าแสดงให้เห็นถึงการแต้มสีเป็นริ้วๆ เพื่อ
                         59                                             เลียนแบบความระยิบระยับบนผิวน ้า

                                                                        นอกจากนี้พื้นผิวที่เกิดจากการลงสีที่ตัว และ
                                                                        มีการสร้างจุดรอบๆ กายของสุนัข ยิ่งเน้นย ้า

                                                                       ถึงความเน่าเปื่อยดังกล่าวได้อย่างดี




                                                                        จิตรกรรมของ ร.อ.เฮง เทวัต แสดงฉากตอน
                                                                        อินทรชิตลาทศกัณฐ์ไปตั้งพิธีชุบศรนาคบาศ

                                                                        ในโพรงไม้โรทัน มีการน าเสนอพื้นผิวที่ส่วน
                         67
                                                                        ล าต้นของต้นไม้ จิตกรแสดงให้เห็นถึงพื้นผิว

                                                                        ของเปลือกไม้ทั้งรากและพุ่มใบได้อย่าง
                                                                        สมจริง



                       ตารางที่ 9 สี และแสง-เงา ในภาพจิตรกรรมฝาผนังที่พระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร

                       ที่มา: ผู้วิจัย

                              จากตารางที่  9  พบว่าการใช้สีที่ปรากฏในผลงานจิตรกรกรมที่พระระเบียงของศิลปินส่วน

                       ใหญ่ยังคงค านึงถึงความสอดคล้องกับเนื้อหาในเรื่องรามเกียรติ์  และการก าหนดสีตามจิตรกรรม

                       แบบขนบนิยมดั้งเดิมของไทย เช่น พระรามมีร่างกายเป็นสีเขียว หนุมานสีขาว ผิวกายของชนชั้นสูง

                       ยังคงเป็นสีอ่อน  ในขณะที่ภาพกากมีผิวกายเป็นสีเข้ม  เป็นต้น  อย่างไรก็ตามการใช้สีในงาน

                       จิตรกรรมที่พระระเบียงแห่งนี้  มีกลวิธีในการลงสีที่ต่างออกไปจากจิตรกรรมตามขนบนิยมของไทย

                       อย่างเห็นได้ชัด กล่าวคือ มีการใช้แสงและเงาเพื่อสร้างปริมาตรแก่รูปทรง ดังเช่น ภาพรูปทรงมนุษย์

                       ทั้งเทพ ตัวพระ ตัวนาง ตลอดจนมนุษย์พลทหาร หรือชาวบ้าน มีการก าหนดค่าแสงและเงา ส่งผล

                       ท าให้แตกต่างไปจากรูแบบจิตรกรรมตามขนบนิยมดั้งเดิม    ที่เป็นเพียงการลงสีแบนและตัดเส้น

                       น าเสนอในลักษณะ  2  มิติ  เท่านั้น  ประโยชน์จากการน าเสนอแสง-เงา  ส่งเสริมให้เกิดการขับเน้น

                       รูปทรง แสดงมวลกล้ามเนื้อได้เป็นอย่างดี
   270   271   272   273   274   275   276   277   278   279   280