Page 268 - kpi20542
P. 268

๏ อาชีพทำไร่ ได้แก่ ทำไร่หอมแดง กระเทียม พริก ถั่วเหลือง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
            “เหลียวหลัง แลหน้า” ท้องถิ่นไทยกับการจัดทำบริการสาธารณะ
                        ๏ อาชีพทำนา ได้แก่ ข้าวเหนียวนาปี โดยใช้พันธุ์ข้าว กข.6

                        ๏ อาชีพปลูกพืชผักสวนครัว จะปลูกเพื่อบริโภคภายในครัวเรือน
                        ๏ อาชีพเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ สุกร เป็ด ไก่ วัวเลี้ยง ปลาในกระชัง


                        นอกจากนี้ ยังมีพัฒนาอาชีพเสริมที่มีการส่งเสริมให้ชุมชนใช้ทักษะและจากผลผลิตทางการ
                  เกษตรในพื้นที่


                        ๏ กลุ่มเย็บผ้าบ้านหนองห่าย หมู่ที่ 1-13
                        ๏ กลุ่มทำขนมทองม้วน หมู่ที่ 1
                        ๏ กลุ่มทำน้ำพริกลาบ หมู่ที่ 14

                        ๏ กลุ่มเพาะเห็ด หมู่ที่ 2, 12
                        ๏ กลุ่มทำไม้กวาดดอกหญ้าตำบลข่วงเปา หมู่ที่ 12

                        ๏ กลุ่มทำปุ๋ยชีวภาพ หมู่ที่ 1
                        ๏ ผลิตดอกไม้ประดิษฐ์ ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มแม่บ้านได้แก่ หมู่ที่ 8, 2, 12
                        ๏ กลุ่มจักสาน หมู่ที่ 14 และ 15

                        ๏ กลุ่มทำขนมไทยตำบลข่วงเปา หมู่ที่ 12
                        ๏ กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้าย หมู่ที่ 3

                        การบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา เน้นหลักการ “5 ร-2 ใจ” ร่วมคิด

                  ร่วมมือ ร่วมทำ ร่วมติดตาม ร่วมเป็นเจ้าของ ให้ความจริงใจ สร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน
                  จนเกิดเป็นความเต็มใจและพร้อมร่วมเรียนรู้ถ่ายทอดประสบการณ์ไปด้วยกัน ซึ่งเป็นโจทย์
            กรณีศึกษา: ด้านเศรษฐกิจ   ฝ่ายบริหารที่ตั้งใจขับเคลื่อนให้แต่ละชุมชนใช้แนวความคิดนี้ในการทำงานและโครงการต่างๆ
                  สำคัญในการพัฒนาตำบลของนายรุ่งสุริยา เชียงชีระ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา และ


                  ในพื้นที่ วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา คือ การ “เป็นองค์กรแห่งการ

                  แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเป็นหน่วยงานที่เชื่อมโยง สร้างเครือข่าย สร้างความร่วมมือระหว่าง
                  ภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน” เพื่อผนึกทุกภาคส่วนให้กลายเป็น

                  กำลังสำคัญในการพัฒนาไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ คือ “ชุมชนแห่งการเรียนรู้ สู่การพัฒนาสังคม
                  ที่เข้มแข็ง ภายใต้วิถีชีวิตแบบพอเพียงอย่างยั่งยืน” นับได้ว่าเป็นการแสดงเจตจำนงที่ชัดเจน
                  ในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้อย่างเข้มแข็งบนฐานทรัพยากรของตนเองในทิศทางที่ยั่งยืน

                  โดยโครงการอันโดดเด่นที่สะท้อนให้เห็นถึงทิศทางของคณะผู้บริหารและสามารถนำมาเป็น
                  ตัวอย่างในเรื่องดังกล่าว คือ







                2 2   สถาบันพระปกเกล้า
   263   264   265   266   267   268   269   270   271   272   273