Page 95 - kpi20488
P. 95
94 สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข
- กองบรรณ�ธิก�รข่�ว หัวหน้�ข่�ว ควรกันนักข่�วที่มีส่วนได้เสียกับ
คว�มขัดแย้งท�งสังคม ก�รเมือง วัฒนธรรม ช�ติพันธุ์นั้นๆ ออก เมื่อพบว่�
เนื้อห�ก�รร�ยง�นข้อมูลข่�วก่อนหน้�นั้นมีก�รสอดแทรกอคติ คว�มคิดเห็น
ชี้นำ� หรือแสดงคว�มเกลียดชังลงไปในร�ยง�นข่�วโดยทันที (ที่ม�ข้อมูล
โครงก�รศึกษ�เฝ้�ระวังสื่อและพัฒน�ก�รรู้เท่�ทันสื่อเพื่อสุขภ�วะของสังคม
(Media Monitor, 2556)
4) การนำาเสนอเนื้อหาสารในสถานการณ์ความไม่สงบ
เพื่อนำาพาไปสู่สังคมสันติสุข
จ�กง�นวิจัยเรื่อง Trust in Government and Media Slant: A Cross-
Sectional Analysis of Media Effects in Twenty-Seven European Countries
ของ Andrea Ceron & VincenZo Memoli (2015) ซึ่งศึกษ�กรณีก�รร�ยง�น
ข่�วในเหตุก�รณ์แบ่งแยกดินแดนใน Mindanao ซึ่งเป็นพื้นที่ช�วมุสลิมใน
ประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งขณะนั้นสื่อหล�ยสำ�นักต่�งกระพือข่�วให้สถ�นก�รณ์
ดูคุกรุ่น ขัดแย้ง และดูเหมือนว่�จะประทุจนกล�ยเป็นสงคร�มได้ ทั้งนี้
คณะผู้วิจัยได้สะท้อนปัญห�ก�รนำ�เสนอข่�วในสื่อลักษณะนี้ว่�เป็นไปต�ม
แนวคิดทฤษฎีเศรษฐศ�สตร์ก�รเมือง (Political Economy Theory) ที่ก�รนำ�เสนอ
ของสื่อเป็นกระบวนก�รที่มุ่งหวังสร้�งผลกำ�ไร ยิ่งสถ�นก�รณ์ดูเลวร้�ยม�กเท่�ใด
ก็จะยิ่งข�ยข่�วได้ม�ก ขณะเดียวกันหล�ยกรณีก�รนำ�เสนอข่�วก็เป็นไปเพื่อ
สร้�งอิทธิพลท�งก�รเมืองของเจ้�ของสื่อ
ก�รวิจัยในครั้งนี้เป็นก�รฝึกอบรมให้นักข่�วเรียนรู้ก�รทำ�ข่�วเชิง
สันติภ�พ (Peace Journalism) จ�กนั้นคณะผู้วิจัยทำ�ก�รวิเคร�ะห์เนื้อห�
(Content Analysis) เพื่อสังเคร�ะห์ถึงผลที่เกิดขึ้นจ�กก�รฝึกอบรม ผลปร�กฏ
ว่�มีผู้สื่อข่�วหล�ยคนเริ่มนำ�แนวท�งก�รนำ�เสนอเนื้อห�เชิงสันติภ�พม�ใช้
ในก�รนำ�เสนอข่�วอย่�งเห็นได้ชัด