Page 90 - kpi20488
P. 90
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 89
นอกจ�กนี้ ในหนังสือคู่มือก�รเป็นสื่อส�ธ�รณะ (2009, อ้�งถึงใน
โครงก�รศึกษ�เฝ้�ระวังสื่อ และพัฒน�ก�รรู้เท่�ทันสื่อเพื่อสุขภ�วะของสังคม,
2553) ชื่อ “An Asia-Pacific Approach to Public Service Broadcasting: A
Guide Book” ได้ให้แนวท�งก�รนำ�เสนอเนื้อห�ของสื่อส�ธ�รณะซึ่งส�ม�รถ
นำ�ม�ปรับใช้ในก�รสื่อส�รเพื่อสร้�งคว�มเป็นประช�ธิปไตยได้ดังนี้
1) เนื้อห�ที่มีคุณภ�พคำ�นึงถึงศักดิ์ศรีของมนุษย์ มีเอกลักษณ์ และเป็น
เนื้อห�ที่จริงต�มแหล่งข่�ว/ข้อมูลที่เป็นจริง สงวนคว�มยุติธรรม วัตถุวิสัย และ
คว�มน่�เชื่อถือ
2) เนื้อห�ควรมีคว�มสร้�งสรรค์ ใช้ข้อมูลต้นตอที่เป็นจริง ตรวจสอบได้
เนื้อห�มีคว�มสดใหม่ ทันสมัย และสะท้อนคว�มหล�กหล�ยมุมมองทัศนคติ
เนื้อห�ที่สร้�งสรรค์นั้นควรมุ่งเพื่อสร้�งชีวิตผู้ชมให้ดีขึ้น ยกระดับคุณภ�พชีวิต
น่�สนใจ และน่�ดึงดูดด้วยกลวิธีที่ดึงดูดใจผู้ชมได้ดี
2) การนำาเสนอเนื้อหาสารโดยคำานึงถึงผลกระทบต่อเด็ก
เยาวชนและครอบครัว
คู่มือจริยธรรมก�รกำ�กับดูแลกันเองในกิจก�รกระจ�ยเสียง และกิจก�ร
โทรทัศน์ ได้ระบุหลักการปกป้องเด็กและเยาวชนจากเนื้อหาที่มีความเสี่ยง
และเด็กที่ปรากฏในสื่อ ดังนี้
• ผู้ปฏิบัติง�นต้องใช้วิจ�รณญ�ณในก�รนำ�เสนอภ�พ ก�รใช้ภ�ษ�
ถ้อยคำ� และน้ำ�เสียงที่เหม�ะสม โดยเฉพ�ะในก�รนำ�เสนอเนื้อห�คว�มรุนแรง
อัตลักษณ์ท�งเพศ เพศวิถี เพศสัมพันธ์ รวมทั้งเรื่องที่มีผลเสียห�ยต่อสถ�บัน
ครอบครัว และเรื่องที่มีคว�มอ่อนไหวอื่นๆ
• ผู้ประกอบวิช�ชีพต้องใช้วิจ�รณญ�ณในก�รนำ�เสนอเนื้อห� ภ�ษ�
ภ�พ เสียง ที่อ�จทำ�ให้ผู้ชมผู้ฟังที่เป็นเด็กและเย�วชนเข้�ใจผิด หรือกระตุ้น
พฤติกรรมลอกเลียนแบบ เช่น ร�ยก�รที่มีเนื้อห�คว�มรุนแรง ก�รใช้ภ�ษ�
หย�บค�ย กิจกรรมที่เสี่ยงภัยต่อร่�งก�ย อบ�ยมุข ก�รกระทำ�ที่ผิดกฎหม�ย