Page 86 - kpi20488
P. 86
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 85
หลักการุณยสารกับผู้ส่งสาร ห�กจะบรรลุผลข้�งต้น ผู้ส่งส�รควร
เข้�ใจหลักจิตวิทย� ทั้งนี้ เนื่องจ�กก�รสื่อส�รโดยปร�ศจ�กคว�มรู้และคว�ม
เข้�ใจในเรื่องจิตวิทย�อ�จส่งผลให้ผู้รับส�รเกิดคว�มขุ่นเคืองใจ คว�มวิตก
กังวล คว�มเสียใจ หรือภ�วะที่ไร้คว�มสุขภ�ยในตัวเอง และนำ�ไปสู่ภ�วะ
ไร้สันติสุขในสังคมส่วนรวม แต่ห�กบุคคลมีจิตวิทย�ในก�รสื่อส�รที่ดีควบคู่
กับองค์คว�มรู้ท�งพุทธศ�สน� ก็จะช่วยให้ก�รสื่อส�รระหว่�งบุคคล ชุมชน
สังคม องค์กร หรือในระดับประเทศและระหว่�งประเทศ มีประสิทธิภ�พม�ก
ยิ่งขึ้น (พระมห�หรรษ� ธมฺมห�โส, 2558) โดยก�รนำ�เอ�หลักธรรมท�ง
พระพุทธศ�สน�ม�ช่วยเติมเต็มในส่วนของภ�ยใน คือ ด้�นจิตใจ เพื่อคว�ม
สันติสุข (พระมห�ดนัย อุปวฑฺฒโน และ ดร.อำ�น�จ บัวสิริ, 2558 : 25)
ทั้งนี้ หลักก�รุณยส�รในพระพุทธศ�สน�ที่ พิณจ์ทอง แมนสุมิตร์ชัย
เสนอว่�ควรจะเป็นแนวท�งในก�รปฏิบัติของผู้ส่งส�รนั้น ส�ม�รถสรุปคว�ม
โดยสังเขปได้ดังนี้ คือ ผู้ส่งส�รต้องมีองค์ประกอบ 4 ด้�น ต�มหลักพุทธศ�สน�
ดังต่อไปนี้
1. มีพรหมวิหาร 4 (เมตต� กรุณ� มุทิต� อุเบกข�) คือ ผู้สื่อส�รต้อง
เขียนด้วยเมตต�จิต
2. มีสัมมาทิฎฐิ คือ มีคว�มเข้�ใจที่ถูกต้อง ไม่มีอคติปรุงแต่ง
3. มีสัมมาสังกัปปะ คือ มีดำ�ริชอบ คิดชอบ
4. โยนิโสมนสิการ คือ มีคว�มคิดพิจ�รณ�อย่�งละเอียด มีระเบียบ
อย่�งมีเหตุผล 10 ประก�ร ดังนี้
(1) วิธีคิดแบบสืบส�วเหตุปัจจัย
(2) วิธีคิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ คือ ก�รคิดจำ�แนกแยกแยะองค์รวม
ของสิ่งต่�งๆ ออกเป็นองค์ย่อยๆ ทำ�ให้มองเห็นคว�มสัมพันธ์ของ
องค์ประกอบย่อยเหล่�นั้นว่�มีคว�มเกี่ยวเนื่องกันเป็นเหตุเป็นผล
และพึ่งพ�อ�ศัยกันอย่�งไร จึงประส�นสอดคล้องกันเป็นองค์รวม
วิธีคิดแบบนี้จะทำ�ให้เร�รู้และเข้�ใจสิ่งต่�งๆ ต�มสภ�พคว�มเป็นจริง